ขั้นตอนการใช้พระราชบัญญัติ การรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักร กองอำนวยการรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักร ขั้นตอนการใช้พระราชบัญญัติ การรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักร พ.ศ.๒๕๕๑
การใช้ พ.ร.บ.การรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักร ฯ และจัดตั้งศูนย์เฉพาะกิจ ขั้นที่ 1 การประชุมประเมินสถานการณ์ การปฏิบัติ รอง นรม./สมช./กอ.รมน. พิจารณา สนย.กอ.รมน.ประสาน เสนอขอความเห็นชอบจาก ครม. - สถานการณ์เป็นไปตามมาตรา 15 ของ พ.ร.บ.ฯ/เงื่อนไขการใช้ พ.ร.บ.ฯ - ความจำเป็นการจัดตั้งศูนย์เฉพาะกิจรับผิดชอบและมอบหมายให้ สตช.รับผิดชอบ - กฎหมายที่จำเป็นต้องใช้ตามที่หน่วยรับผิดชอบร้องขอ - ข้อกำหนดที่เจ้าหน้าที่จำเป็นต้องใช้ตามที่หน่วยรับผิดชอบร้องขอ - พิจารณาแผนปฏิบัติการ ครม.ให้ความเห็นชอบ การประกาศพื้นที่ฯ และการใช้ข้อกำหนด ตามที่ กอ.รมน.เสนอ
อนุมัติ การใช้ พ.ร.บ.การรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักร ฯ และจัดตั้งศูนย์เฉพาะกิจ กอ.รมน.เสนอ ขั้นที่ 2 ครม./ครม.พิเศษ การปฏิบัติ อนุมัติ สนย.กอ.รมน.ประสาน/จัดทำ เอกสารแจกจ่ายให้ คกก.รมน.ทราบ (200 ชุด) - ประกาศพื้นที่/ห้วงเวลา มาตรา 15 - ประกาศการโอนกฎหมาย มาตรา 16 วรรคท้าย - ข้อกำหนด (6 ข้อหรือน้อยกว่า) มาตรา 18 ส่งเรื่องประกาศในราชกิจจานุเบกษาให้มีผลบังคับใช้
การใช้ พ.ร.บ.การรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักร ฯ และจัดตั้งศูนย์เฉพาะกิจ ขั้นที่ 3 การปฏิบัติ นรม./รอง นรม. ที่ได้รับมอบหมาย เป็นประธาน ประชุมกรรมการ อำนวยการ กอ.รมน. สนย.กอ.รมน.เชิญ/ จัดการประชุม คกก.รมน. (ก่อนวันที่มีผลบังคับใช้) พิจารณาให้ความเห็นชอบ อนุมัติคำสั่งจัดตั้ง ศอ.รส. โดยมอบหมายให้มีผู้รับผิดชอบชัดเจน - การจัดตั้งศูนย์และมอบผู้รับผิดชอบ มาตรา 17 - โครงสร้างการจัดและอำนาจหน้าที่ของศูนย์ มาตรา 17 - แผนปฏิบัติการ (มาตรา 16(2) (ลงนามโดย ผอ.ศูนย์ฯ) ให้ความเห็นชอบคำสั่งปฏิบัติการ
เป็นขั้นที่ 2 เพื่อประสาน และการแก้ปัญหาของศูนย์ฯ การใช้ พ.ร.บ.การรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักร ฯ และจัดตั้งศูนย์เฉพาะกิจ ขั้นที่ 3 กอ.รมน.ยกระดับ ศตส.ฯ เป็นขั้นที่ 2 เพื่อประสาน และติดตามสถานการณ์ และการแก้ปัญหาของศูนย์ฯ - แต่งตั้งเจ้าพนักงาน ตร.เป็นเจ้าพนักงาน กอ.รมน. - ประกาศรายละเอียดของข้อกำหนด ผบ.ตร. ศูนย์เฉพาะกิจ กำลัง ตร. เจ้าหน้าที่ทหาร (เมื่อประสาน)
รายงานผลให้สภาผู้แทนราษฎรและวุฒิสภาทราบ การใช้ พ.ร.บ.การรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักร ฯ และจัดตั้งศูนย์เฉพาะกิจ เมื่อสถานการณ์ปกติ นรม.ประกาศสิ้นสุด รายงานผลให้สภาผู้แทนราษฎรและวุฒิสภาทราบ
ข้อเปรียบเทียบกฎหมายความมั่นคง ขั้นตอนการดำเนินงานตาม พ.ร.บ.การรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักร พ.ศ.2551 ครม. ประกาศพื้นที่ ปรากฏเหตุการณ์ฯ (ม.15) ศูนย์อำนวยการ จัดทำโครงสร้าง อัตรากำลัง อำนาจหน้าที่ แผนการปฏิบัติ สมช.หรือ กอ.รมน. โอนกฎหมาย (ม.18) ศูนย์อำนวยการ นรม. เสนอ เหตุการณ์ อันกระทบ รายงาน ผลการปฏิบัติ รายงาน ผลต่อสภาฯ ออกข้อกำหนด (ม.18) มอบให้ กอ.รมน. รับผิดชอบ คณะกรรมการ อำนวยการ ให้ความเห็นชอบ เกิดเหตุการณ์อันกระทบต่อความมั่นคงภายในราชอาณาจักร เหตุการณ์อันกระทบต่อความมั่นคงภายในฯ สิ้นสุด
พ.ร.บ.การรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักร พ.ศ.2551 ประกาศพื้นที่ ปรากฏเหตุการณ์ฯ กอ.รมน.มีอำนาจ หน้าที่ - ปราบปราม ระงับ ยับยั้ง แก้ไข บรรเทาเหตุการณ์ - จัดทำแผนเสนอคณะกรรมการฯ กรณีจำเป็นเพื่อ แก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น ผอ.รมน.โดยความเห็นชอบ ของคณะกรรมการฯ มีอำนาจ จัดตั้งศูนย์อำนวยการ หรือ หน่วยงานที่เรียกชื่ออย่างอื่น เพื่อแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น - มีเหตุการณ์กระทบต่อความมั่นคง (สมช. และ กอ.รมน.) - ครม.ประกาศพื้นที่ให้ กอ.รมน. แก้ไขปัญหาในเวลาและพื้นที่ที่กำหนด ให้ กอ.รมน.หารือร่วมกับ สมช.และหน่วยงานของรัฐที่เกี่ยวข้องถ้ามี ความจำเป็นต้องใช้อำนาจตามกฎหมายของส่วนราชการอื่น 1. ครม. มีอำนาจแต่งตั้งเจ้าหน้าที่ กอ.รมน.เป็นเจ้าพนักงานตามกฎหมายนั้น 2. ครม.มีมติให้หน่วยงานของรัฐ มอบอำนาจตามกฎหมายให้ กอ.รมน. ดำเนินการแทนหรือ ดำเนินการด้วยภายในพื้นที่และเวลาที่กำหนด ออกข้อกำหนด มาตร 18 (6 ข้อ)
ขั้นตอนการใช้พระราชบัญญัติ การรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักร กองอำนวยการรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักร ขั้นตอนการใช้พระราชบัญญัติ การรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักร พ.ศ.๒๕๕๑