ค่าวคืออะไร       “ค่าว” หมายถึงคำประพันธ์ที่มีลักษณะร้อยสัมผัสสอดเกี่ยวกันไปแบบร่ายและจบลงด้วยโคลงสองหรือโคลงสามสุภาพ  มีหลายชนิดคือ เรื่องที่ปรากฏในเทศนาธรรม.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สื่อความรู้เพื่อการศึกษา กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
Advertisements

การแต่งกลอน.
จดหมายกิจธุระ.
ศาสนพิธี.
สื่อความรู้เพื่อการศึกษา กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
แพทย์ศาสตร์ สงเคราะห์. แพทย์ศาสตร์ สงเคราะห์ เป็นตำราแพทย์ของไทยโบราณ ซึ่งพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้รวบรวมขึ้นไว้
ชนิดของคำในภาษาไทย คำในภาษาไทย มี ๗ ชนิด ได้แก่ คำนาม คำสรรพนาม
กาพย์เห่ชมเครื่องคาวหวาน
ธรรมชาติและลักษณะของภาษา
โรงเรียนมหาชนะชัยวิทยาคม อำเภอมหาชนะชัย จังหวัดยโสธร
คำคล้องจอง หนู ปู ดูรูงู ปูนา ขาเก
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑ ตา
สขจ.สุพรรณบุรี ร่วมกับ อบต.ทัพหลวง สำรวจจุดเสี่ยงในพื้นที่รวม ๔ แห่ง
เทคนิคการเขียน หนังสือราชการ
วรรณวิจิตร ไพเราะในร้อยกรอง
หลักการออกแบบของ ADDIE model ADDIE model
วรรณคดีเรื่องกาพย์เห่เรือ
โครงสร้าง ภาษา HTML.
บทร้อยกรอง.
MY STORY Come to my world.
วิธีการเขียนรายงานของปัญหาพิเศษ
คำวิเศษณ์.
เรื่อง คำอุทาน.
วิถีคุณธรรมนำความรู้
การขัดกันแห่งกฎหมาย (Conflict of law)
เพลงกล่อมเด็กภาคใต้.
สอนเสริมภาษาไทย เรื่องการใช้ภาษาเพื่อพัฒนาความคิด
ภาษาไทย เสนอ อาจารย์ฐิตาพร ดวงเกตุ จัดทำโดย
การออกแบบการวัดและประเมินผลการเรียนรู้
กฎ ก.พ. ว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการ
กลุ่มสาระภาษาไทย สำหรับช่วงชั้นที่ 2
วิชาภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๕ โรงเรียนวชิรป่าซาง อ.ป่าซาง จ.ลำพูน
การใช้ภาษาและเทคโนโลยีสำหรับครู
ภาษาวิทยุกระจายเสียง
วิชาเลือกเสรี เรื่องภาษาไทย
บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน ความรู้เรื่องเสียงในภาษา
๙.พยัญชนะท้ายพยางค์ แม่ เกย
การเลื่อนตำแหน่งสายสนับสนุน
อ่านไม่ออก เขียนไม่ได้ แก้ไขอย่างไรดี
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
วันศุกร์ที่ ๕ พฤศจิกายน ๒๕๕๓
ขั้นตอนและหลักการวิเคราะห์
สำนักงาน ก.พ. ที่ นร ๑๐๑๒/ว ๒๐ ถนนพิษณุโลก กทม. ๑๐๓๐๐ ๓ กันยายน ๒๕๕๒
บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่องประเภทของเครื่องดนตรีไทย
การเขียนรายงาน.
คำสรรพนาม จัดทำโดย ด.ช.ธนวัฒน์ เตชะนิรัติศัย เลขที่ 30
ทะเบียนราษฎร.
ประเภทของวรรณกรรม.
พระเวสสันดรชาดก.
องค์ประกอบของวรรณคดี
เพลงประกอบการสอน ชุดการสอนเขียนกาพย์ยานี 11 และกลอนสุภาพ
วรรณกรรมในสมัยอยุธยามีอยู่มากตั้งแต่สมัยสมเด็จพระเจ้าอู่ทอง จนตลอดระยะเวลาของ กรุงศรีอยุธยาวรรณกรรมที่ดีเด่นจนได้รับการยกย่องเป็นวรรณคดีมีอยู่หลายเรื่อง.
นางสรัญญา โพธิ์เอี่ยม โรงเรียนวัดตะคร้ำเอน สพป.กจ.2
บทสนทนา การเดินเรื่อง มุมมองของกวี
รูปแบบรายงาน.
ชนิดของคำ คำอุทาน ครูศรีเรือน ยิ้มศรีเจริญกิจ
โรงเรียนไทยรัฐวิทยา 97 (บ้านบางบอน) สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาระนอง
คุณค่าวรรณคดีด้านวรรณศิลป์
คุณค่าวรรณคดีด้านวรรณศิลป์
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาสมุทรปราการ เขต ๑
วรรณคดีสมัย กรุงรัตนโกสินทร์.
วิชาพิเศษลูกเสือสำรอง นายบรรจง เป็ดทอง L.T.
เรื่อง การใช้ภาษาในการพูด ผู้สอน ครูณรงค์ฤทธิ์ ศักดารณรงค์
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาสมุทรปราการ เขต ๑
วรรณคดีสำคัญในสมัยอยุธยาตอนกลาง
ประโยคในการสื่อสาร จัดทำโดย ด.ช. อนันต์ ผลทับทิม เลขที่ ๔๓
หน่วยที่ ๑๐ การเขียนบทร้อยกรองในงานอาชีพ
เริ่มต้น เกม 4 ตัวเลือก โดย นายจำลอง ศรีอุทัย.
เรื่อง ประโยค.
ประกาศกรมธุรกิจพลังงาน เรื่อง กำหนดลักษณะและคุณภาพของน้ำมันดีเซล (ฉบับที่ 2) พ.ศ ประกาศในราชกิจจานุเบกษาวันที่ 6 พฤษภาคม 2553.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ค่าวคืออะไร       “ค่าว” หมายถึงคำประพันธ์ที่มีลักษณะร้อยสัมผัสสอดเกี่ยวกันไปแบบร่ายและจบลงด้วยโคลงสองหรือโคลงสามสุภาพ  มีหลายชนิดคือ เรื่องที่ปรากฏในเทศนาธรรม เรียกว่า“ค่าวธรรม” ถ้าแต่งเป็นจดหมายรักเรียกว่า “ค่าวใช้” ถ้านำไปอ่านเป็นทำนองเสนาะเรียกว่า “ค่าวซอ”หรือ “เล่าค่าว” และถ้าหากเป็นการขับลำนำตอนไปแอ่วสาวเรียกว่า “จ๊อย” แม้ชาวบ้านที่พูดคล้องจองกันเรียกว่า “อู้เป็นค่าวเป็นเครือ”

คุณสมบัติของนักแต่งค่าว มีดังนี้       1 ) มีใจรักในการแต่งค่าวและเป็นคนอารมณ์สุนทรีย์       2 ) ถ้าแต่งกลอนเป็น จะทำให้แต่งค่าวได้ง่ายขึ้น       3 ) รู้ฉันทลักษณ์ค่าว ได้แก่ สัมผัส และเสียงวรรณยุกต์       4 ) แยกเสียงโทและเสียงตรีออก จะทำให้แต่งค่าวได้ไพเราะยิ่งขึ้น

สำนวนค่าว มี 3 ส่วน คือ บทขึ้นต้น , บทดำเนินเรื่อง และบทสุดท้าย สำนวนค่าว มี 3 ส่วน คือ บทขึ้นต้น , บทดำเนินเรื่อง และบทสุดท้าย ฉันทลักษณ์ของค่าว มีดังนี้     1 ) ค่าว 1 บท มี 3 บาท ( 3 บรรทัด ) บาทละ 4 วรรค     2 ) สามวรรคแรกมี 4 คำ ส่วนวรรคที่สี่ มี 2 - 4 คำมี     3 ) บังคับเสียงวรรณยุกต์สามัญ , โท , ตรี และจัตวา     4 ) การส่งสัมผัสประกอบด้วย สัมผัสระหว่างวรรคและสัมผัสระหว่างบาทสัมผัสระหว่างวรรคส่งจากวรรคท้ายวรรคที่สอง ไปยังคำท้ายวรรคที่สามของทุกบาท     5 ) บังคับเสียงวรรณยุกต์สามัญ , โท , ตรี และจัตวา ตามตำแหน่งที่กำหนด

บทขึ้นต้น – ๑ บท จะมี ๑๑ วรรค ๆ ละ ๔ คำ ผังค่าว  บทขึ้นต้น – ๑ บท จะมี ๑๑ วรรค ๆ ละ ๔ คำ -สีเขียวแทนเสียงสามัญ-

บทดำเนินเรื่อง – จะมีกี่บทก็ได้ บทหนึ่งจะมี ๑๐ วรรคๆละ ๔ คำเช่นกัน ผังค่าว  บทดำเนินเรื่อง – จะมีกี่บทก็ได้ บทหนึ่งจะมี ๑๐ วรรคๆละ ๔ คำเช่นกัน -สีเขียวแทนเสียงสามัญ-

บทสุดท้าย – มี ๖ วรรคๆละ ๔ คำ และนิยมลงท้ายด้วยคำว่า “ก่อนแล่นายเหย”. ผังค่าว  บทสุดท้าย – มี ๖ วรรคๆละ ๔ คำ และนิยมลงท้ายด้วยคำว่า “ก่อนแล่นายเหย”. -สีเขียวแทนเสียงสามัญ-

การสัมผัส  ตัวอย่าง “สะหรียินดี ตุ๊ปี่ตุ๊น้อง ที่มาอยู่ห้อง เอกพุทธฯ ปี๋สาม รวมตึงหมดนี้ เก้าคนหลากหลาม น้ำใจ๋งดงาม เหมือนกั๋นจุ๊ผู้ วิชาจัดการ ศึกษาสงฆ์สู้ หื้อแต่งกล๋อนซอ ค่าวจ๊อย * การสัมผัสมีดังนี้ 1 ) ( น้อง ) ในบรรทัดที่หนึ่ง สัมผัสกับ ( ห้อง ) ในบรรทัดที่หนึ่ง ( สาม ) ในบรรทัดที่หนึ่ง สัมผัสกับ ( หลาม ) ในบรรทัดที่สอง 2 ) ( หลาม ) บรรทัดที่สอง สัมผัสกับ ( งาม ) ในบรรทัดที่สอง 3 ) ( ผู้ ) บรรทัดที่สอง สัมผัสกับ ( สู้ ) ในบรรทัดที่สาม

การบังคับวรรณยุกต์ 1. ( สรียินดี ) วรรคหนึ่ง - ไม่บังคับ - สะหรียินดี ตุ๊ปี่ตุ๊น้อง ที่มาอยู่ห้อง เอกพุทธฯ ปี๋สาม รวมตึงหมดนี้ เก้าคนหลากหลาม น้ำใจ๋งดงาม เหมือนกั๋นจุ๊ผู้ วิชาการจัดการ ศึกษาสงฆ์สู้ หื้อแต่งกล๋อนซอ ค่าวจ๊อย 1.   ( สรียินดี ) วรรคหนึ่ง - ไม่บังคับ -      ( ตุ๊ปี่ตุ๊น้อง ) วรรคสอง เสียงตรี ( น้อง )      ( ที่มาอยู่ห้อง ) วรรคสาม เสียงโท ( ห้อง )      ( เอกพุทธฯปี๋สาม ) วรรคสี่ เสียงจัตวา ( สาม )

การบังคับวรรณยุกต์ 2. (รวมตึงหมดนี้) วรรคหนึ่ง – บังคับเสียงตรี (นี้) การบังคับวรรณยุกต์  2.   (รวมตึงหมดนี้) วรรคหนึ่ง – บังคับเสียงตรี (นี้)      ( เก้าคนหลายหลาม ) วรรคสอง บังคับเสียงจัตวา ( หลาม )      ( น้ำใจ๋งดงาม ) วรรคสาม บังคับเสียงสามัญ ( งาม )      ( เหมือนกั๋นจุ๊ผู้ ) วรรคสี่ บังคับเสียงโท ( ผู้ ) 3.   ( วิชาการจัดการ ) วรรคหนึ่ง - ไม่บังคับ -      ( ศึกษาสงฆ์สู้ ) วรรคสอง บังคับเสียงโท ( สู้ )      (หื้อแต่งกล๋อนซอ) วรรคสาม บังคับเสียงสามัญ ( เฮา )      ( ค่าวจ๊อย) วรรคสี่ บังคับเสียงตรี ( จ๊อย )

บทดำเนินเรื่อง ตัวอย่าง ทุกรูปนี้หนา มีความเรียบร้อย ต่างจ่องห้อย เบิกบาน หัวหน้าห้องนั้น น้ำใจอาจหาญ พระครูวิธานสาธุวัตรเจ้า เลขาฯแถมกา สุชาติแบบเบ้า กอยช่วยแบ่งเบา ภาระ หลวงพ่อชุมพล คน * การสัมผัสมีดังนี้ 1 ) ( น้อง ) ในบรรทัดที่หนึ่ง สัมผัสกับ ( ห้อง ) ในบรรทัดที่หนึ่ง ( สาม ) ในบรรทัดที่หนึ่ง สัมผัสกับ ( หลาม ) ในบรรทัดที่สอง 2 ) ( หลาม ) บรรทัดที่สอง สัมผัสกับ ( งาม ) ในบรรทัดที่สอง 3 ) ( ผู้ ) บรรทัดที่สอง สัมผัสกับ ( สู้ ) ในบรรทัดที่สาม

การสัมผัส  ตัวอย่าง “สะหรียินดี ตุ๊ปี่ตุ๊น้อง ที่มาอยู่ห้อง เอกพุทธฯ ปี๋สาม รวมตึงหมดนี้ เก้าคนหลากหลาม น้ำใจ๋งดงาม เหมือนกั๋นจุ๊ผู้ วิชาจัดการ ศึกษาสงฆ์สู้ หื้อแต่งกล๋อนซอ เน้อครับ * การสัมผัสมีดังนี้ 1 ) ( น้อง ) ในบรรทัดที่หนึ่ง สัมผัสกับ ( ห้อง ) ในบรรทัดที่หนึ่ง ( สาม ) ในบรรทัดที่หนึ่ง สัมผัสกับ ( หลาม ) ในบรรทัดที่สอง 2 ) ( หลาม ) บรรทัดที่สอง สัมผัสกับ ( งาม ) ในบรรทัดที่สอง 3 ) ( ผู้ ) บรรทัดที่สอง สัมผัสกับ ( สู้ ) ในบรรทัดที่สาม

การสัมผัส  ตัวอย่าง “สะหรียินดี ตุ๊ปี่ตุ๊น้อง ที่มาอยู่ห้อง เอกพุทธฯ ปี๋สาม รวมตึงหมดนี้ เก้าคนหลากหลาม น้ำใจ๋งดงาม เหมือนกั๋นจุ๊ผู้ วิชาจัดการ ศึกษาสงฆ์สู้ หื้อแต่งกล๋อนซอ เน้อครับ * การสัมผัสมีดังนี้ 1 ) ( น้อง ) ในบรรทัดที่หนึ่ง สัมผัสกับ ( ห้อง ) ในบรรทัดที่หนึ่ง ( สาม ) ในบรรทัดที่หนึ่ง สัมผัสกับ ( หลาม ) ในบรรทัดที่สอง 2 ) ( หลาม ) บรรทัดที่สอง สัมผัสกับ ( งาม ) ในบรรทัดที่สอง 3 ) ( ผู้ ) บรรทัดที่สอง สัมผัสกับ ( สู้ ) ในบรรทัดที่สาม