ข้อเปรียบเทียบ การกลับไปใช้สิทธิในบำเหน็จบำนาญ ตามพรบ.บำเหน็จบำนาญพ.ศ.2494 (UNDO) สำหรับข้าราชการบำนาญ
1.เงินที่ได้รับเมื่อเกษียณอายุหรือลาออก ความแตกต่างของ พรบ. 1.เงินที่ได้รับเมื่อเกษียณอายุหรือลาออก สูตรบำนาญ 2494= เงินเดือนสุดท้าย x เวลาราชการ 50 (ต้องไม่เกินเงินเดือนสุดท้าย) สูตรบำนาญ 2539= เงินเดือนเฉลี่ย 60 เดือน x เวลาราชการ ต้องไม่เกิน 70% เงินเดือนเฉลี่ย 60 เดือน เงินสะสม (3%) เงินสะสมส่วนเพิ่ม (1-12%) เงินสมทบ(3%) เงินชดเชย(2%) เงินประเดิม ผลประโยชน์ตอบแทนของเงินดังกล่าว
ความแตกต่างของ 2 พรบ. 2.เมื่อข้าราชการบำนาญเสียชีวิตจะได้รับเงินบำเหน็จตกทอด=เงินบำนาญ x 30 เท่า พรบ.บำเหน็จบำนาญ 2494 จะได้เงินบำเหน็จตกทอด มากกว่าพรบ.บำเหน็จบำนาญ2539 เพราะได้เงินบำนาญมากกว่าเนื่องจากเงินเดือนที่นำมาคำนวณเป็นเงินเดือนเดือนสุดท้าย พรบ.กองทุนบำเหน็จบำนาญ 2539 จะได้เงินบำเหน็จตกทอดน้อยกว่า พรบ.บำเหน็จบำนาญ 2494เพราะได้เงินบำนาญน้อยกว่าเนื่องจากเงินเดือนที่นำมาคำนวณบำนาญเป็นเงินเดือนเฉลี่ย60เดือน และไม่เกิน 70 %ของเงินเดือนเฉลี่ย60เดือน
เงื่อนไขการใช้สิทธิUNDO ข้าราชการบำนาญที่เคยเป็นกบข.แบบสมัครใจ แสดงความประสงค์ได้ ตั้งแต่กฎหมายใช้บังคับถึงวันที่ 30 มิ.ย.2558 ถ้ามีเงินที่ต้องคืนจะต้องคืนภายใน 30 มิ.ย.2558
ข้อมูลที่ต้องนำมาใช้การในการตัดสินใจ UNDO สำหรับข้าราชการบำนาญ 1.จำนวนเงินที่ต้องคืน 2.จุดคุ้มทุนจำนวนปีที่รับเงินบำนาญ พรบ. 2494ส่วนเพิ่ม กับจำนวนเงินก้อนที่ต้องคืน 3.สุขภาพของตนเอง
ข้าราชการบำนาญที่เลือกUNDO (กลับไปใช้พรบ.2494) เงินที่ต้องคืน ภายใน 30 มิ.ย.2558 เงินที่ไม่ต้องคืน เงินประเดิม เงินสะสม เงินชดเชย เงินสะสมส่วนเพิ่ม เงินสมทบ ผลประโยชน์ตอบแทนของเงินดังกล่าว ผลประโยชน์ตอบแทนของเงินดังกล่าว
การคืนเงินโดยหักกลบลบกัน เงินก้อนที่ต้องคืน 1.ต้องคืนรัฐ หรือ 2.รัฐต้องจ่ายคืน บำนาญส่วนเพิ่ม (บำนาญเดิม-บำนาญกบข.)