บทที่ 9 การจัดการข้อมูล การตรวจสอบความผิดพลาดในการส่งข้อมูล

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
A Batteryless RFID Remote Control System
Advertisements

การประยุกต์ Logic Gates ภาค 2
อุปกรณ์วัดคลื่นไฟฟ้าหัวใจแบบไร้สาย Wireless Electrocardiogram
การทำสายสำหรับระบบเครือข่าย
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
การแทนค่าข้อมูล และ Primary Storage (Memory)
Department of Informatics, Phuket Rajabhat University. THAILAND
เทคโนโลยี 3G. เทคโนโลยี 3G เทคโนโลยี 3G เทคโนโลยี 3G คืออะไร 3G หรือ Third Generation เป็นเทคโนโลยีการสื่อสารในยุคที่ 3 อุปกรณ์การสื่อสารยุคที่ 3 เป็นอุปกรณ์ที่ผสมผสาน.
บทที่ 2 วิธีการพัฒนาซอฟต์แวร์
ENCODER.
ลำโพง (Loud Speaker).
( Code Division Multiple Access)
ARP (Address Resolution Protocol)
Computer&Technology Mahidol Wittayanusorn School
บรรยายโดย นายประสพพงษ์ บัวทอง วิศวกรไฟฟ้าสื่อสาร หรือ พญาไท 314
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
บทที่ 3 ในการเชื่อมต่อเครือข่าย
Digital Data Communication Technique
Memory Internal Memory and External Memory
Sharing Communication Lines
Data Link Layer.
อาจารย์ ถนอม ห่อวงศ์สกุล
ขอความกรุณาแจ้ง รายละเอียดเกี่ยวกับ ระบบ conference และบุคลากรดูแล ระบบ ทางเว็บไซต์ สพท. ละ 2 ท่าน ทุกรายการ เพื่อความสะดวกและรวดเร็วในการ.
RAM บทที่ 4.
Data Communication Chapter 2 OSI Model.
ปฏิบัติการประกอบเครื่องคอมพิวเตอร์
OSI MODEL.
จัดทำโดย จัดทำโดย นางสาวชุติมา ก้องศิริวงศ์ รหัส นางสาวฏรินทร คงมณี รหัส
ระบบการสื่อสารข้อมูล (Data Communication System)
โครงสร้างการจัดเก็บข้อมูลเชิงกายภาพ
การฟื้นสภาพและการควบคุมสภาวะพร้อมกัน
ERROR (Data Link Layer)
การวิเคราะห์วงจรในโดเมน s Circuit Analysis in The s-Domain
อาจารย์นัณฑ์ศิตา ชูรัตน์
เรื่องข้อมูลและสาระสนเทศ
เรื่องการสื่อสารและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
เรื่อง คอมพิวเตอร์กับการประมวลผลข้อมูล
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
บทที่ 7 Deadlock Your company slogan.
2.1 วิธีแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์ (Computer problem solving methods)
บทที่ 4 Modulation วิชา... เทคโนโลยีไร้สาย
Quality of Research ทำวิจัย อย่างไรให้มีคุณภาพ
Ethernet (802.3) มาตรฐานข้อกำหนดคุณสมบัติของ โปรโตคอล Ethernet
บทที่ 4 พื้นฐานข้อมูลและสัญญาณ (Fundamental of Data and Signals)
องค์ประกอบ ระบบสื่อสาร ข้อมูล. จัดทำโดย นายพีรพัฒน์ปาคำ ม.4/1 เลขที่ 3 นางสาวจามจุรีเขียวสอาด ม.4/1 เลขที่ 40 เสนอ อาจารย์ กรกนก เตชะชัย โรงเรียนน่านนคร.
การเบิกจ่ายเงินรางวัล ประจำปีงบประมาณ 2555
รูปแบบการส่งสัญญาณข้อมูล
หน่วยที่ 4 หลักการแก้ปัญหากับภาษาคอมพิวเตอร์
การควบคุมผลกาปฏิบัติงาน
อาจารย์จังหวัด ศรีสลับ เสนอ จัดทำ โดย แผนก คอมพิวเตอร์ ธุรกิจ นางสาวสุวรรณ รัตน์ ดำรัส นางสาวศศิธร ดำเกิงพันธุ์
งานเทคโนโลยีสารสนเทศ โรงเรียนพนมเบญจา
การเชื่อมต่อ Internet การเชื่อมต่อไปยัง ISP การเชื่อมต่อไปยังระบบ LAN การเชื่อมต่อแบบไร้สาย การเชื่อมต่อผ่านระบบเคเบิลทีวี
เรื่อง Token Bus LAN จัดทำโดย นายปรีชา สุขมาก นายจักรกริน ย่องนุ่น เสนอ นาย จังหวัด ศรีสลับ.
รูปแบบการเชื่อมโยงเครือข่าย
เทคโนโลยีไร้สาย Department of Informatics, Phuket Rajabhat University. THAILAND.
Input / Output ธนวัฒน์ แซ่เอียบ.
ระบบสื่อสารข้อมูล 2 ง ไอที 2 ศูนย์คอมพิวเตอร์ โรงเรียนปลวกแดง พิทยาคม.
รูปร่างเครือข่ายคอมพิวเตอร์ จัดทำโดย เด็กชาย คณิศร อ้อยกลาง เลขที่ 36 ม.2/5 เสนอ อ.สายฝน เอกกันทา โรงเรียนจักรคำคณาทร จ.ลำพูน.
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ เครือข่ายคอมพิวเตอร์ เครือข่ายคอมพิวเตอร์
1 การกำจัดรีโซแนนซ์การบิดด้วยตัว ชดเชยจากวิธีแผนผังค่าสัมประสิทธิ์ (CDM) รูปที่ 4.1 ระบบตามโครงสร้าง CDM.
หลักการบันทึกเสียง.
รูปร่างเครือข่ายคอมพิวเตอร์
Magnetic Tape แบ่งออกเป็น 2 ประเภท
การสื่อสาร ข้อมูล (Data Communication) การสื่อสารข้อมูล (Data Communications) กระบวนการถ่ายโอนหรือ แลกเปลี่ยนข้อมูลกันระหว่างผู้ส่ง และผู้รับ โดยผ่านช่องทางสื่อสาร.
รูปแบ รูปแบบของคอมพิวเตอร์ จัดทำโดย ด. ญ. สุภิญญา จันต๊ะนารี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2/6 เสนอ ครูสายฝน เอกกันทา โรงเรียนจักรคำคณาทร จังหวัดลำพูน.
การสื่อสารข้อมูล จัดทำโดย นางสาวกาญจนา แสงเพ็ชร
แบบจำลอง OSI Model.
การเตรียมข้อมูล (Data preparation)
แบบ Star จะเป็นลักษณะของการต่อ เครือข่ายที่ Work station แต่ละตัวต่อรวมเข้าสู่ ศูนย์กลางสวิตซ์ เพื่อสลับตำแหน่งของเส้นทาง ของข้อมูลใด ๆ ในระบบ ดังนั้นใน.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทที่ 9 การจัดการข้อมูล การตรวจสอบความผิดพลาดในการส่งข้อมูล บทที่ 9 การจัดการข้อมูล และ การตรวจสอบความผิดพลาดในการส่งข้อมูล ผศ.สมบูรณ์ ภู่พงศกร

การจัดการเฟรมข้อมูล 4 วิธี 1.การนับจำนวนตัวอักษร (Character Count ) การใส่ตัวอักษรควบคุมที่ต้นและท้ายเฟรมข้อมูล (Starting and ending characters , with character stuffing ) 3. การใส่ชุดบิตควบคุมที่ต้นและท้ายเฟรม (Starting and ending flags ,with bit stuffing ) 4. การแปลงรหัสในชั้นฟิสิคอล ( Physical layer coding violations. )

การตรวจสอบและแก้ไขความผิดพลาดของข้อมูลในเครือข่ายคอมพิวเตอร์ สาเหตุที่ทำให้การรับส่งข้อมูลผิดพลาด 1.1สัญญาณรบกวนที่เกิดจากกระแสไฟฟ้าแรงดันสูง 1.2สัญญาณความร้อน 1.3การส่งสัญญาณจะอ่อนกำลังลงตามระยะทางที่เพิ่มขึ้น (Attenuation) 1.4สัญญาณจากสายสื่อสารใกล้เคียงกันเกิดการรบกวนซึ่งกันและกัน เรียกว่า ครอสทอล์ก (Cross talk) 1.5ความผิดเพี้ยนของสัญญาณ ที่เกิดจากการดีเลย์ (Delay Distortion) 1.6ปัญหาจากสายสื่อสารชำรุดหรือขาด (Line Failure)

2. อัตราความผิดพลาดของข้อมูล ( Error Rate ) - จำนวนบิตที่เกิดความผิดพลาด ต่อจำนวนบิตที่ส่งทั้งหมด ในช่วงเวลาหนึ่ง ๆ เช่น 1/100 วินาที - อัตราความผิดพลาดของข้อมูลจะมีผลโดยตรงกับอัตราความเร็วในการส่งข้อมูล

3.การจัดการกับความผิดพลาดของข้อมูล การรับ-ส่งข้อมูลเป็นเฟรม เครื่องฝั่งรับมีโอกาสที่จะรับเฟรมข้อมูลนั้น มีอยู่ 3 กรณีคือ 1.รับข้อมูลได้ถูกต้อง 2.รับข้อมูลที่มีบางบิตข้อมูลผิดพลาด แต่ตรวจจับไม่ได้ 3.รับข้อมูลที่มีบางบิตข้อมูลผิดพลาด และตรวจจับได้

ในกรณีที่ตรวจจับความผิดพลาดของข้อมูลได้ ก็จะต้องพิจารณาว่าจะแก้ปัญหานั้นอย่างไรต่อไป ซึ่งแยกออกได้เป็น 2 กรณี คือ 3.1ใช้วิธีแก้ไขความผิดพลาดไปข้างหน้า (Forward Error Correction) 3.2ใช้วิธีแจ้งความผิดพลาดโดยส่งซ้ำ (Feedback or Backward Error Correction)

การตรวจสอบอย่าง มี 2 ลักษณะคือ 5. การตรวจหาความผิดพลาดของข้อมูล การตรวจสอบอย่าง มี 2 ลักษณะคือ 1 การตรวจสอบการรับส่งข้อความที่เป็นตัวอักษรโดยผู้รับใช้สายตาตรวจสอบด้วยตนเอง 2 ตรวจสอบโดยใช้เทคนิคการสะท้อนกลับของข้อมูล ที่เรียกว่า Echo Technique หรือ Echoplex ภาพที่ 9.8 แสดงการสะท้อนกลับของข้อมูล

1. การตรวจสอบแบบพาริตี้ (Parity Checking) วิธีการหาค่าพาริตี้บิตได้ 2 แบบคือ 1. พาริตี้คี่ ( Odd Parity ) 2. พาริตี้คู่ ( Even Parity )

2.การตรวจสอบแบบหาผลรวมของบล็อกข้อมูล (Block Sum Checking)