บทที่ 9 การจัดการข้อมูล การตรวจสอบความผิดพลาดในการส่งข้อมูล บทที่ 9 การจัดการข้อมูล และ การตรวจสอบความผิดพลาดในการส่งข้อมูล ผศ.สมบูรณ์ ภู่พงศกร
การจัดการเฟรมข้อมูล 4 วิธี 1.การนับจำนวนตัวอักษร (Character Count ) การใส่ตัวอักษรควบคุมที่ต้นและท้ายเฟรมข้อมูล (Starting and ending characters , with character stuffing ) 3. การใส่ชุดบิตควบคุมที่ต้นและท้ายเฟรม (Starting and ending flags ,with bit stuffing ) 4. การแปลงรหัสในชั้นฟิสิคอล ( Physical layer coding violations. )
การตรวจสอบและแก้ไขความผิดพลาดของข้อมูลในเครือข่ายคอมพิวเตอร์ สาเหตุที่ทำให้การรับส่งข้อมูลผิดพลาด 1.1สัญญาณรบกวนที่เกิดจากกระแสไฟฟ้าแรงดันสูง 1.2สัญญาณความร้อน 1.3การส่งสัญญาณจะอ่อนกำลังลงตามระยะทางที่เพิ่มขึ้น (Attenuation) 1.4สัญญาณจากสายสื่อสารใกล้เคียงกันเกิดการรบกวนซึ่งกันและกัน เรียกว่า ครอสทอล์ก (Cross talk) 1.5ความผิดเพี้ยนของสัญญาณ ที่เกิดจากการดีเลย์ (Delay Distortion) 1.6ปัญหาจากสายสื่อสารชำรุดหรือขาด (Line Failure)
2. อัตราความผิดพลาดของข้อมูล ( Error Rate ) - จำนวนบิตที่เกิดความผิดพลาด ต่อจำนวนบิตที่ส่งทั้งหมด ในช่วงเวลาหนึ่ง ๆ เช่น 1/100 วินาที - อัตราความผิดพลาดของข้อมูลจะมีผลโดยตรงกับอัตราความเร็วในการส่งข้อมูล
3.การจัดการกับความผิดพลาดของข้อมูล การรับ-ส่งข้อมูลเป็นเฟรม เครื่องฝั่งรับมีโอกาสที่จะรับเฟรมข้อมูลนั้น มีอยู่ 3 กรณีคือ 1.รับข้อมูลได้ถูกต้อง 2.รับข้อมูลที่มีบางบิตข้อมูลผิดพลาด แต่ตรวจจับไม่ได้ 3.รับข้อมูลที่มีบางบิตข้อมูลผิดพลาด และตรวจจับได้
ในกรณีที่ตรวจจับความผิดพลาดของข้อมูลได้ ก็จะต้องพิจารณาว่าจะแก้ปัญหานั้นอย่างไรต่อไป ซึ่งแยกออกได้เป็น 2 กรณี คือ 3.1ใช้วิธีแก้ไขความผิดพลาดไปข้างหน้า (Forward Error Correction) 3.2ใช้วิธีแจ้งความผิดพลาดโดยส่งซ้ำ (Feedback or Backward Error Correction)
การตรวจสอบอย่าง มี 2 ลักษณะคือ 5. การตรวจหาความผิดพลาดของข้อมูล การตรวจสอบอย่าง มี 2 ลักษณะคือ 1 การตรวจสอบการรับส่งข้อความที่เป็นตัวอักษรโดยผู้รับใช้สายตาตรวจสอบด้วยตนเอง 2 ตรวจสอบโดยใช้เทคนิคการสะท้อนกลับของข้อมูล ที่เรียกว่า Echo Technique หรือ Echoplex ภาพที่ 9.8 แสดงการสะท้อนกลับของข้อมูล
1. การตรวจสอบแบบพาริตี้ (Parity Checking) วิธีการหาค่าพาริตี้บิตได้ 2 แบบคือ 1. พาริตี้คี่ ( Odd Parity ) 2. พาริตี้คู่ ( Even Parity )
2.การตรวจสอบแบบหาผลรวมของบล็อกข้อมูล (Block Sum Checking)