ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการกำกับการแสดง

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สมเกียรติ คูหเวโรจนปกรณ์
Advertisements

รายละเอียดวิชา ง การงานพื้นฐาน4(คอมพิวเตอร์2)
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการจัดการ
โครงงานคืออะไร ??? ติดตามมาเลยนะครับ…..
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 การจัดการแสดงและการวิจารณ์การแสดง
การวาดเส้นองค์ประกอบศิลป์
ภาพโครงการเรียนรู้สร้างศิลปะในฝัน
ระบบการประเมินเพื่อพัฒนาผลการปฏิบัติงาน บุคลากรสายสนับสนุน
รายงานการวิจัย.
การบริหารกลุ่มและทีม
ภาพรวมของแนวคิดโครงงาน
หน่วยการเรียนรู้ คืออะไร
แผนการเรียนรู้ เรื่อง การจัดองค์ประกอบของการถ่ายภาพ
สรุปภาพรวมของหน่อยการเรียนรู้
การพัฒนากิจกรรม การเรียนรู้ โดยโครงงาน
บทที่ 15 การออกแบบระบบ.
สมรรถนะที่จำเป็นสำหรับผู้รับผิดชอบ การจัดการรายบุคคลในโรงพยาบาล (Case Manager และ Case Management Unit)
มีหน้าที่เชื่อมโยงผู้คน/หน่วยงานเข้าหากัน
ความหมาย ประโยชน์ ลักษณะของทีม
การปรับปรุงโครงสร้างภายในกองพัสดุ เสนอที่ประชุม
การเขียนโครงร่างการวิจัย
6. การควบคุมให้ปฎิบัติตามกฎ ระเบียบ และ. มาตรฐานความ ประพฤติ การควบคุมให้ปฎิบัติตามกฎ ระเบียบ และ มาตรฐานความ ประพฤติ 7. การทำความเข้าใจซึ่งกันและกัน.
การพัฒนาบุคลิกภาพภายใน
บทนำ วิชานาฏยหัตถกรรม Stage Crafts (อ.เมษา อุทัยรัตน์)
เพื่อการกำหนดระดับตำแหน่ง
1. การดำเนินงานในรูปแบบคณะกรรมการ/คณะทำงาน
ข้อเสนอการเปลี่ยนแปลงเพื่อสร้างความโปร่งใส ในกระบวนงานกระบวนการพัฒนาและคุ้มครองพิทักษ์สิทธิเยาวชน (การเสริมสร้างความเข้มแข็งสภาเด็กและเยาวชน) ของสำนักงานส่งเสริมสวัสดิภาพและพิทักษ์เด็ก.
การผลิตภาพยนตร์ การฝึกอบรมหลักสูตรภาคปฏิบัติ ปี 2552
โครงสร้างและวัฒนธรรมองค์การ (Organizational Structure and Culture)
ความขัดแย้งและการเจรจาต่อรอง (Conflict and Negotiation)
กระบวนงานการจัดการแข่งขันฝีมือแรงงาน
แนวทางการก้าวสู่การเป็น
สำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด
กลุ่มที่ 13 ประกอบด้วยกลุ่มบุคคลที่มาจากหลายเขต เช่น เขต 1, 2, 3, 10, 15 มีทั้งหมด 3 ประเด็นด้วยกัน คือ 1. สรุปกระบวนการและข้อเสนอแนะการนิเทศ รพ.สต. รอบที่
นักวิจัย กับ แนวทางการมีส่วนร่วมในการทำวิจัย
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบการทำโครงงาน
รายละเอียดประสบการณ์ภาคสนาม (Field Experience Specification)
การบริหารและกระบวนการวางแผน
วิชา ทักษะภาษาไทยเพื่ออาชีพ
ศูนย์บริการและถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตรประจำตำบล
ขั้นตอนและหลักการวิเคราะห์
แล การ นิ เทศงานและการ แก้ ไขปัญหา ในงานสหกิจศึกษา การ นิ เทศงานและการ แก้ ไขปัญหา ในงานสหกิจศึกษา ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. อัจฉราพร โชติพฤกษ์ ผู้อำนวยการกลุ่มงานมาตรฐานและบริการการศึกษา.
หมวด5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
กิจกรรมเสริมสร้างทักษะชีวิต
การแก้ไขปัญหาในงานสหกิจศึกษา
หลักสูตร ศิลปะการพูดในที่ชุมนุมชน บรรยาย โดย อาจารย์วทัญญู มุ่งหมาย
เทคนิคการจัดเวทีประชาคม
ขั้นตอนและหลักการคิดวิเคราะห์วรรณคดี
โดย นายธวัชชัย ฝ่ายพลแสน
ลักษณะข้อสอบการอ่าน PISA 2009.
โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากร “ การนิเทศการศึกษา ” สำนักงาน กศน. จังหวัด กำแพงเพชร 11 – 13 มีนาคม 2552 ณ สำนักงาน กศน. จังหวัด กำแพงเพชร
สัมมนาการพัฒนาหลักสูตรและการเรียนการสอนสำหรับท้องถิ่น
บทบาทสมมติ (Role Playing)
ผู้อำนวยกลุ่มการเรียนรู้ (Learning Facilitator)
หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.)
การสร้างสรรค์บทละคร.
องค์ประกอบของบทละคร.
ความหมายของการวิจารณ์
สรุปบทความเรื่อง แนวทางการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ด้วย Competency
Lighting Designer นักออกแบบแสง.
คำอธิบายรายวิชา ศึกษา วิเคราะห์ในเรื่องทฤษฎีบทพีทาโกรัส บทกลับทฤษฎีบทพีทาโกรัส จำนวนตรรกยะ จำนวนอตรรกยะ รากที่สอง รากที่สาม การแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวและการนำไปใช้
การสร้างภาพบนเวทีและ การออกแบบเพื่อการแสดง
การสอนโดยการแบ่งกลุ่มทำกิจกรรม
หัวข้อการเรียน สัปดาห์ที่ ๔ ENL 3701
สัมมนาทางการประกอบการธุรกิจ
ให้โอกาสผู้เรียนมีส่วนร่วมรับผิดชอบ สร้างความมีวินัย การตรงต่อเวลา
การออกแบบสื่อเพื่อการศึกษา ADDIE Model
โดย ดวงวรพร สิทธิเวทย์ ภารกิจ นโยบายและยุทธศาสตร์การวิจัย (Office of Research Policy and Strategy)
ทฤษฎีการวิจารณ์ศิลปะ
E-Pedagogy Case-based Learning ดร.ปราวีณยา สุวรรณณัฐโชติ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการกำกับการแสดง

ความหมายของการกำกับการแสดง การถ่ายทอดเรื่องราวจากบทละครเรื่องใดเรื่องหนึ่ง เพื่อสื่อสาร “แก่นเรื่อง” หรือสาระสำคัญของละครไปยังผู้ชม ผ่านการจัดแสดงละครที่ประกอบด้วยการแสดง ฉาก แสง สี เสียง อนึ่ง การจะถ่ายทอดเรื่องราวให้สื่อสาร “แก่นเรื่อง” ได้นั้น ผู้กำกับการแสดงจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องทำความเข้าใจ วิเคราะห์ สังเคราะห์ และตีความตัวบทละครมาเป็นอย่างดี ก่อนจะนำมาสร้างสรรค์ ฝึกซ้อม ปรับแก้ จนกระทั่งสามารถถ่ายทอดออกมาเป็นรูปแบบของการแสดงบนเวทีได้

บทบาทหน้าที่ของผู้กำกับการแสดง สดใส พันธุมโกมล (2531, หน้า 20) กล่าวว่า ผู้กำกับการแสดง คือ “ผู้ที่รับผิดชอบสูงสุดในสายงานฝ่ายศิลปะ เป็นจุดเริ่มต้นและศูนย์รวมที่ให้เอกภาพในการแสดงออกทางศิลปะ นับตั้งแต่ การแสดง การออกแบบ และการนำศิลปะแขนงต่างๆ อาทิ การเต้นระบำและดนตรีมารวมกันเข้าอย่างได้สัดส่วน ทำให้เกิดผลรวมคือ ละครที่มีความสมบูรณ์และมีคุณค่าเหมาะสมที่จะเสนอต่อผู้ชม” มัทนี รัตนิน (2546, หน้า 33) ได้กล่าวถึงบทบาทของผู้กำกับการแสดงว่า “ในการสร้างละคร ผู้กำกับการแสดงเป็นศูนย์กลางที่จะประสานระหว่างผู้ประพันธ์บทละคร ผู้แสดง ผู้ออกแบบฉาก แสง สี เสียง ผู้ควบคุมฝ่ายเทคนิคต่างๆ และผู้ชม”

บทบาทหน้าที่ของผู้กำกับการแสดง (ต่อ) เอ็ดเวิร์ด เอ. ไรท์ (Edward A. Wright) ได้กล่าวถึงบทบาทของผู้กำกับการแสดงไว้ว่า “เป็นผู้ที่รับผิดชอบในการเลือกเฟ้น การจัดแบ่งงาน และการวางโครงงานด้านศิลปะของการจัดแสดงทั้งหมด ผู้กำกับเป็นทั้งผู้นำ ผู้ประสานงาน ผู้ชี้ทาง และผู้เชื่อมโยงส่วนประกอบต่างๆ ของละครเข้าไว้ด้วยกัน ละครเรื่องใดที่ผ่านจินตนาการของผู้กำกับ จะสะท้อนลักษณะบางอย่างของตัวเขาออกมาด้วย” (นพมาส ศิริกายะ, ผู้แปล, 2525, หน้า 153) สรุปได้ว่า ผู้กำกับการแสดง คือผู้ที่มีบทบาทสูงที่สุดในสายงานด้านศิลปะ สำหรับการจัดสร้างละครเรื่องหนึ่งๆ ผู้กำกับจะเป็นผู้ควบคุม ดูแลกระบวนการสร้างสรรค์งานทั้งหมดให้ออกมาใกล้เคียงกับความคิดและจินตนาการของเขามากที่สุด ทั้งนี้ในการควบคุมการสร้างงานให้สัมฤทธิ์ผลนั้น ผู้กำกับจะต้องประสานงานและทำงานร่วมกันกับบุคลากรฝ่ายต่างๆ ในคณะละคร

หน้าที่ของผู้กำกับการแสดง ตีความหมายบทละคร คัดเลือกนักแสดง เลือกผู้ออกแบบ และผู้ร่วมงานฝ่ายต่างๆ ให้คำแนะนำและรับฟังความเห็นโดยปรึกษาหารือกับผู้ออกแบบทุกฝ่าย เพื่อตกลงกันให้เรียบร้อยถึงรูปแบบและแนวการเสนอละคร ตลอดจนการตีความหมายของเรื่องก่อนลงมือซ้อมละคร กำหนดแผนงานการฝึกซ้อมทุกขั้นตอน ดำเนินการฝึกซ้อม ควบคุมทีมงานการจัดแสดงละคร เป็นผู้ตัดสินใจในปัญหาทุกอย่างที่เกี่ยวข้องกับสายงานฝ่ายศิลปะ รับผิดชอบในผลรวมของละคร และในงานสายศิลปะทุกสาขา (สดใส พันธุมโกมล, 2531, หน้า 20)

คุณสมบัติของผู้กำกับการแสดง มีความกระตือรือร้น และสนใจในบทละครที่จะกำกับอย่างจริงจัง มีความรู้เกี่ยวกับเรื่องที่จะกำกับอย่างละเอียดลออ มีความเข้าใจในจิตใจของมนุษย์ มีความรู้และประสบการณ์ในด้านการกำกับการแสดง และงานด้านต่างๆ เกี่ยวกับการละครเป็นอย่างดี เป็นคนช่างสังเกต มีความคิดริเริ่ม จินตนาการและความสามารถในการสร้างสรรค์ มีความเป็นผู้นำ และมีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี มีความสามารถในการตัดสินใจ ไม่ดูถูกรสนิยมของผู้ชม มีพรสวรรค์ สดใส พันธุมโกมล (2531, หน้า 22-24)