Facilitator: Pawin Puapornpong

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ศาสตราจารย์แพทย์หญิงสุภรี สุวรรณจูฑะ
Advertisements

Chittima Sirijerachai
พ.อารักษ์ R3 พ.หทัยรัตน์ R2
Interhospital conference 8 กุมภาพันธ์ 2554
PEDIATRIC HEMATOLOGY/ONCOLOGY INTER-HOSPITAL CONFERENCE
Interhospital Conference
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับเอดส์
การผ่าตัดปากมดลูกผ่านกล้องส่องผ่านช่องท้องโดยเก็บมดลูกไว้มีโอกาสตั้งครรภ์สำหรับผู้ป่วยมะเร็งปากมดลูก : ความสำเร็จครั้งแรกในระเทศไทยและเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
พยาบาลเปรมจิตร คล้ายเพ็ชร์ งานการพยาบาลศัลยศาสตร์ฯ
ACCURACY IN DIAGNOSIS ACUTE APPENDICITIS IN BUDDHACHINNARAJ HOSPITAL
งานวิจัยเรื่อง ระยะเวลาและอัตราการติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะในผู้ป่วยที่คาสายสวนปัสสาวะของโรงพยาบาลพุทธชินราช.
OBJECTIVE To study the relationship between signs , symptoms or history of disease and routine urinalysis.
คำแนะนำผู้ป่วย โรคนิ่วในถุงน้ำดี หอผู้ป่วยพิเศษ 2.
คำแนะนำมารดาหลังคลอด
นิ่วในระบบทางเดินปัสสาวะ
การขูดมดลูก การขูดมดลูก หมายถึง การใส่อุปกรณ์เครื่องมือแพทย์ผ่านทางช่องคลอด และ ปากมดลูกเข้าไปในโพรงมดลูก เพื่อเก็บชิ้นเนื้อส่งตรวจ.
การปฏิบัติตัวผู้ป่วยหลังผ่าตัดเปลี่ยนไต เมื่อกลับไปอยู่บ้าน
ผู้ป่วยเม็ดเลือดขาวต่ำ
โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่
Ovarian tumor, morbid obesity
พ.ศ ลำดับการดำเนินงานในจังหวัดขอนแก่น คณะทำงานชี้แจงในที่ประชุม
Cancer in Thailand Cancer in Thailand 2003.
CASE STUDY 2.
Principle of Prachinburi Triage Scale(PTS)
1.หญิง50ปี มีโรค เบาหวาน ความดันโลหิตสูง ประจำตัว มาฉีดวัคซีนไข้หวัดใหญ่ ตามหนังสือ เชิญ ซักประวัติตรวจร่างกาย และฉีดวัคซีนให้ Z25.1.
รวบรวมเทคนิคและเคล็ดลับการสอบสวนโรค ประสบการณ์ภาคสนาม
นายแพทย์สมพงษ์ กิตติพิบูลย์
หญิงตั้งครรภ์อายุ 25 ปี Admit 29 มิ.ย. 52
Cancer.
ศูนย์อนามัยที่ 9 พิษณุโลก
Diabetic Foot แผลเบาหวาน กับ การดูแล ป้องกัน
Facilitator: Pawin Puapornpong
ควรเริ่มตรวจแป๊บสเมียร์เมื่อใด ใครบ้างที่ควรตรวจแป๊บสเมียร์
Dead case Ward หญิง.
Case Scenario. นส. ชมพู่ อายุ 26 ปี ไม่มีอาการ มารับการตรวจคัดกรองโรคติดต่อ ทางเพศสัมพันธ์ Case 1 วันที่ รับบริการ ประเภท ผู้ป่วย ใหม่ / เก่า เพศอายุสัญชาติ
แนวทางการบันทึก และตรวจประเมินคุณภาพ การบันทึกเวชระเบียน ผู้ป่วยนอก
Facilitator: Pawin Puapornpong
โรคเบาหวาน ภ.
ข้อห้าม ของการตัดปากมดลูก
Thyroid gland.
Ethic case conference พญ. กนกพร ศรีรัตนวงศ์ นพ. ยงยุทธ ชุ่มคำลือ อาจารย์ที่ปรึกษา รศ.พญ.วัลลี สัตยาศัย.
Conference TB-HIV โรงพยาบาลหนองจิก
Tonsillits Pharynngitis
อย่า ! ให้คนที่รักต้องจากไปเพราะ...
ภาวะมีบุตรยาก น.พ. สุรชัย เดชอาคม ภาควิชาสูติศาสตร์-นรีเวชวิทยา
การดูแลหญิงตั้งครรภ์ระยะคลอด
นิ่วในถุงน้ำดี งานสุขศึกษา โรงพยาบาลพะเยา.
Facilitator: Pawin Puapornpong
Karoon Ramkaroon, Resident 2 nd year. Patient information  หญิงไทย คู่ อายุ 40 ปี  อาชีพ ค้าขาย  ภูมิลำเนา อ. รัษฎา จ. ตรัง  Chief complaint  แน่นหน้าอก.
L o g o Facilitator: Pawin Puapornpong Case study 39.
Facilitator: Pawin Puapornpong
Case study 48 Facilitator: Pawin Puapornpong.
Facilitator: Pawin Puapornpong
Facilitator: Pawin Puapornpong
Facilitator: Pawin Puapornpong
Case 1. Case 1 หญิงตั้งครรภ์ G1P0 GA 36 wk ที่อยู่ 28 หมู่ 2 ต.บางหลวงโดด อ.บางบาล จ.พระนครศรีอยุธยา CC : ญาตินำส่งโรงพยาบาลด้วยไม่รู้สึกตัว 40 นาทีก่อนมาโรงพยาบาล.
Facilitator: Pawin Puapornpong
Facilitator: Pawin Puapornpong
Case study 52 Facilitator: Pawin Puapornpong.
Facilitator: Pawin Puapornpong
Facilitator: Pawin Puapornpong
Facilitator: Pawin Puapornpong
Facilitator: Pawin Puapornpong
Facilitator: Pawin Puapornpong
Facilitator: Pawin puapornpong
การตัดชิ้นเนื้อตรวจปากมดลูก (Cervical punch biopsy)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Facilitator: Pawin Puapornpong Case study 12 Facilitator: Pawin Puapornpong

Title History and physical examination Approach Lab investigation Management

History Date of admission: 19/07/56 Case: ผู้ป่วยหญิงไทย อายุ 35 ปี เชื้อชาติไทย สัญชาติไทย ศาสนาพุทธ ภูมิลำเนา จังหวัดฉะเชิงเทรา อาชีพรับจ้าง CC: คลำได้ก้อนที่ท้องน้อย 3 เดือนก่อนมาโรงพยาบาล PI: 3 month PTA สามีคลำได้ก้อนแข็งที่บริเวณตรงกลางท้องน้อย เวลา นอน ก้อนขนาดประมาณ 1 กำมือ ขยับไม่ได้ ไม่เจ็บ ผิวเรียบ มีอาการปัสสาวะ บ่อยขึ้น ตอนกลางวันปัสสาวะ 7 ครั้ง กลางคืน 1 ครั้ง ไม่มีปัสสาวะแสบขัด อุจจาระปกติ ประจำเดือนมาปกติ ปวดท้องเฉพาะวันแรกของการมีประจำเดือนโดยปวดเท่าๆเดิม ไม่มีเลือดออกผิดปกติทางช่องคลอด ไม่มีตกขาวผิดปกติ 3 วันต่อไป ไปพบแพทย์ที่คลินิก ได้ทำการอัลตราซาวด์พบก้อนเนื้อที่ มดลูก ก้อนขนาดเท่าๆเดิม ไม่ได้โตเร็ว ยังมีอาการปัสสาวะบ่อย ไม่มีไข้ ไม่มีเบื่อ อาหาร ไม่มีน้ำหนักลด ไม่มีคลื่นไส้ ไม่มีอาเจียน เพิ่มประวัติ

History PH: - no underlying disease - no food and drug allergy - no alcoholic and smoking - G0P0 - menstrual: LMP 20/06/56, ปกติมา 5 วัน รอบ 30 วัน สม่ำเสมอ, ใช้ผ้าอนามัยวันละ 2-3 ผืนต่อวัน, ปวดประจำเดือนเฉพาะวันแรก - SI last 1 week, ไม่ได้คุมกำเนิด, สามีทำหมันแล้ว - ปฏิเสธการใช้ยาสมุนไพร FX: - มารดาเป็นมะเร็งปอด

Physical examination PE: v/s BT 37 ๐C BP 121/85 mmHg PR 88 bpm RR 20 /min GA: a Thai female good consciousness, not pale, no jaundice HEET: not pale conjunctiva, anicteric sclera CVS : full pulse, regular rhythm, normal S1S2, no murmur Respi and chest : clear both lung, no hyperpigmentation of nipple and areolar Abd : soft, palpable mass 20 week size, round, smooth surface, movable, firm, not tender

Physical examination PV with speculum MIUB : no urethral discharge, no batholin’s gland enlargement Vagina : clear serous discharge, normal mucosa, no hyperpigmentation of mucosa Cervix : clear serous discharge per os, no bleeding, no lesion, os clear, no cervical excitation pain, firm consistency Uterus : 20 week size, not tender, firm, smooth surface Adnexa : no palpable mass, not tender Cal de sac: no bulging

Differential diagnosis Provisional diagnosis Myoma uteri subserous type Differential diagnosis Adenomyosis Pregnancy

Lab investigation Ultrasound TAS+TVS uterus 5.03x2.53x2.6 cm, hypoecchoic mass at anterior wall 11.35x11.32 cm LOV : not seen ROV : 0.34x1.67, normal appearance หมายเหตุ เนื่องจากก้อนมีขนาดใหญ่การตรวจ transabdominal ultrasound น่าจะเหมาะสมกว่า

Provisional diagnosis Myoma uteri subserous type

Plan of management Laparoscopic hysterectomy เนื่องจากผู้ป่วยไม่มีความประสงค์จะมีบุตรอีกในอนาคต GnRh agonist เพื่อลดขนาดก้อน

Treatment Medical Surgical Follow up

Medical Surgery GnRH agonist : 3-4 month to reduce size Supportive treatment Surgery Total laparoscopic hysterectomy ก้อนมีขนาดใหญ่ มี mass effect ไม่มีความต้องการมีบุตรอีก โอกาสเป็นซ้ำน้อยกว่า Intraoperative พบว่ามีก้อนจำนวนหลายก้อนทั่วๆ uterus

Postoperative diagnosis Myoma uteri Intramural type

Postoperative care Observe bleeding per vagina Observe urine output Record vital sign Observe subcutaneous emphysema NPO MO, antiemetic drug On ventilator (จาก complication) Chest x-ray

Prognosis โอกาสจะกลายเป็น leiomyosarcoma < 0.5% เนื่องจากผู้ป่วยรายนี้ทำการผ่าตัดแบบ Total laparoscopic hysterectomy จึงไม่มีโอกาสที่จะเกิด myoma uteri อีก