การสร้างแบบสอบถาม และ การกำหนดเงื่อนไข.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
บทที่ 2 รหัสควบคุมและการคำนวณ
Advertisements

บทที่ 2 รหัสควบคุมและการคำนวณ
รายวิชา ง40102 หลักการแก้ปัญหาและการโปรแกรม
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการเขียนโปรแกรม
BC320 Introduction to Computer Programming
โครงสร้างการควบคุมการทำงานของโปรแกรม Program control structures
Data Type part.II.
Functional programming part II
Functional programming part II
CS Assembly Language Programming
ชนิดของข้อมูลและตัวดำเนินการ
Microsoft Excel 2007.
นางสาวสุพรรษา ธรรมสโรช
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับโปรแกรม Microsoft Office Access 2003
การประยุกต์สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
บทที่ 2 Operator and Expression
Week 6 ประกาศค่าตัวแปร.
Microsoft Access.
Microsoft Access.
PHP LANGUAGE.
บทที่ 5 การสอบถามข้อมูลด้วยฟังก์ชั่น สำหรับการคำนวณทางคณิตศาสตร์
การเลือกข้อมูลชุด ด้วยคำสั่ง IN
Lab 3: คำสั่งพื้นฐานสำหรับการรับและการแสดงผลข้อมูล
คณิตศาสตร์และสถิติธุรกิจ
การเขียนโปรแกรม ASP การประกาศตัวแปร
ตัวดำเนินการ (Operator) คือสัญลักษณ์หรือเครื่องหมายแทนการกระทำกับข้อมูล เพื่อบอกให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทราบว่าจะต้องดำเนินการใดกับข้อมูลใดบ้าง แบ่งออกเป็น.
เรื่อง ประเภทของข้อมูล
หน่วยที่ 5 ตัวดำเนินการ (Operators)
บทที่ 3 แบบจำลองข้อมูล Data Models Calculus
ตัวอย่างงานวิจัย องค์ประกอบที่มีความสัมพันธ์กับการใช้ห้องสมุดของนักเรียนมัธยมศึกษา ตารางที่ 4-7 ตารางที่
การเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ ด้วยภาษาจาวา
บทที่ 3 ตัวดำเนินการ และ นิพจน์
โปรแกรม Microsoft Access
การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์และอัลกอริธึม
ระบบจำนวนเต็ม โดย นางสาวบุณฑริกา สูนานนท์
บทที่ 11 การเขียนโปรแกรมภาษาซี
ตัวแปร (variable) ตัวแปร เป็นชื่อที่เราตั้งขึ้น เพื่อให้คอมพิวเตอร์เตรียมที่ใน หน่วยความจำไว้สำหรับเก็บข้อมูลที่นำไปประมวลผล การตั้งชื่อตัวแปร ชื่อตัวแปรในภาษา.
ตัวแปร (Variable) คือ ชื่อที่ตั้งขึ้นเพื่อเก็บข้อมูลในหน่วยความจำ สามารถเก็บข้อมูลชนิดใดก็ ได้ ลักษณะที่สำคัญ ค่าที่จัดเก็บ เมื่อปิดโปรแกรมข้อมูลจะหายไป.
ตัวดำเนินการ(Operator)
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
ตัวแปรกับชนิดของข้อมูล
โครงสร้างข้อมูลแบบคิว
ง40208 การเขียนไดนามิกเว็บเพจ ศูนย์คอมพิวเตอร์ โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม
นิพจน์และตัวดำเนินการ
บทเรียนสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โดยใช้โปรแกรม Microsoft Multipoint
การสอบถามข้อมูลด้วยฟังก์ชั่นสำหรับ
CHARPTER 4 การสอบถามข้อมูลแบบมีเงื่อนไข
ตัวแปรกับชนิดของข้อมูล
เครื่องหมายและการดำเนินการ ในภาษา C
พีชคณิตบูลีน Boolean Algebra.
ตัวแปร ชนิดข้อมูล และ ตัวดำเนินการใน PHP
ทบทวน กันก่อน .....กระบวนการแปลโปรแกรม
พื้นฐานการเขียนโปรแกรม
โปรแกรม Microsoft Access
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
ใช้นับจำนวนแบบมีเงื่อนไข รูปแบบฟังก์ชัน
ค21201 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม 1
กองซ้อน ยอดกองซ้อน (stack).
ตัวดำเนินการ และนิพจน์คณิตศาสตร์
CHAPTER 12 SQL.
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
รู้จักกับ Microsoft Access 2003
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
บทที่ 5 รหัสควบคุมและ การคำนวณ C Programming C-Programming.
การกระทำทางคณิตศาสตร์
ตัวแปร และชนิดข้อมูล.
โครงสร้างข้อมูลแบบ สแตก (stack)
Computer Programming การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
หลักการทั่วไปเกี่ยวกับการเขียนโปรแกรม
การสร้างแบบสอบถาม และ การกำหนดเงื่อนไข.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การสร้างแบบสอบถาม และ การกำหนดเงื่อนไข

คำถามชวนคิด????? คุณสมบัติของคีย์หลักมีอะไรบ้าง ตอบ ไม่เป็นค่าว่าง และค่าต้องไม่ซ้ำกัน 2. วิธีการสร้างคีย์หลัก 2 คีย์ใน 1 ตารางมีวิธีการอย่างไร ตอบ กด Ctrl ค้างไว้ หลังจากนั้นคลิกที่ฟิลด์ที่ต้องการ กำหนดให้เป็นคีย์หลัก

จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. บอกความหมายและชนิดของแบบสอบถามได้ 2. สร้างแบบสอบถาม (Query) ได้ 3. กำหนดเงื่อนไขในการสร้างแบบสอบถามได้

แบบสอบถาม (Query) “แบบสอบถาม” หรือ “คิวรี (Query)” ใช้ในการกำหนดเงื่อนไขในการคัดกรองข้อมูล เพื่อให้ได้ข้อมูลตามที่เราต้องการ ดังนั้น แบบสอบถามจึงเป็นการเลือกกลุ่มของข้อมูลจากตารางข้อมูล โดยเอาเฉพาะที่เราต้องการ เช่น เอาเฉพาะบางฟิลด์หรือบางเรคอร์ดตามเงื่อนไขที่เรากำหนด กลุ่มของข้อมูลที่เลือกออกมานี้ จะเรียกว่า ไดนาเซ็ต (Dynaset) คิวรี (Query)

ประเภทของแบบสอบถาม (Query) แบบสอบถาม แบ่งออกเป็น 5 ประเภท ดังนี้ 1. แบบใช้เลือกข้อมูล (Select Query) ใช้ในการเลือกข้อมูลจากตารางๆ เดียว หรือหลายตาราง ตามเงื่อนไขที่กำหนด 2. แบบตาราง (Crosstab Query) เป็นคิวรีที่แสดงข้อมูล 2 มิติ คือ เป็นการแสดงข้อมูลตามความสัมพันธ์ในแนวคอลัมน์กับแถว 3. แบบพารามิเตอร์ (Parameter Query) เป็นคิวรีที่มีการแสดงไดอะล็อกบ็อกโต้ตอบโดยการใส่ค่าพารามิเตอร์เพื่อถามข้อมูลจากผู้ใช้งาน

ประเภทของแบบสอบถาม (Query) (ต่อ) แบบสอบถาม แบ่งออกเป็น 5 ประเภท ดังนี้ 4. แบบแอคชัน (Action Query) ใช้สำหรับเปลี่ยนแปลงข้อมูลในฐานข้อมูล 5. แบบ SQL (SQL Query) เป็นคิวรีที่สร้างด้วยการใช้คำสั่งภาษา SQL

การกำหนดเงื่อนไข (Criteria) เครื่องหมายในการเปรียบเทียบ เครื่องหมายในการคำนวณ เครื่องหมายในการเชื่อมข้อความ ตัวกระทำค่าทางตรรกะ ตัวกระทำเพื่อเลือกข้อมูลเป็นกลุ่ม ตัวกระทำเพื่อหาค่าว่าง

เครื่องหมายในการเปรียบเทียบ ตัวดำเนินการเปรียบเทียบ คำอธิบาย = เท่ากับ <> ไม่เท่ากับ < น้อยกว่า > มากกว่า <= น้อยกว่าหรือเท่ากับ >= มากกว่าหรือเท่ากับ

เครื่องหมายในการคำนวณ โอเปอเรเตอร์ คำอธิบาย ตัวอย่าง ผลลัพธ์ + บวก   3 + 2 5 - ลบ   5 – 3 2 * คูณ 3 * 2 6 / หาร 10 / 4 2.5 \ หาร นิพจน์แบบผลลัพธ์เป็นจำนวนเต็ม 13 \ 4 3 Mod หาเศษจากการหาร 13 Mod 4 1 ^ หาผลลัพธ์จากการยกกำลัง 2 ^ 3 8 ( ) จัดลำดับการคำนวณ (3+2) * 3 15

เครื่องหมายในการเชื่อมข้อความ โอเปอเรเตอร์ คำอธิบาย ตัวอย่าง ผลที่ได้ & ใช้ในการเชื่อมต่อสตริง “AB” & “CD” “ABCD” + “AB” + “CD”

ตัวกระทำค่าทางตรรกะ โอเปอเรเตอร์ คำอธิบาย And เลือกเรคอร์ดเมื่อเงื่อนไขทั้งสองเป็นจริง Or เลือกเรคอร์ดเมื่อมีเงื่อนไขใดเงื่อนไขหนึ่งเป็นจริง Not กลับเงื่อนไขเป็นตรงข้าม Xor เลือกเรคอร์ดเมื่อมีเงื่อนไขที่เป็นจริงเพียงอันเดียว Eqv เลือกเรคอร์ดเมื่อเงื่อนไขทั้งสองเป็นจริงหรือเป็นเท็จทั้งคู่

ตัวกระทำเพื่อเลือกข้อมูลเป็นกลุ่ม โอเปอเรเตอร์ ทำหน้าที่ Like “ข้อมูล” หาข้อมูลทั้งหมดที่ตรงตามที่กำหนดใน “ข้อมูล” โดยอาจใช้อักขระตัวแทน (Wildcard) ร่วมด้วยได้ Between ข้อมูล1 And ข้อมูล2 หาข้อมูลที่อยู่ในช่วงข้อมูล1 และข้อมูล2 In (ข้อมูล1,ข้อมูล2,...) หาข้อมูลเฉพาะที่ตรงกับที่ระบุในวงเล็บ

อักขระตัวแทน (Wildcard) * หรือ % แทนอักษรหรือตัวเลขใดๆ ก็ได้กี่ตัวก็ได้ เช่น Sc* อาจเป็น School, Scare, Screen ? แทนอักษรหรือตัวเลขใดๆ ก็ได้ 1 ตัวตรงตำแหน่งนั้น เช่น B?g อาจเป็น Big, Bag, Bug # แทนตัวเลขอะไรก็ได้ 1 ตัวตรงตำแหน่งนั้น เช่น ##000 อาจเป็น 10000, 45000 [ ] แทนช่วงอักษรหรือตัวเลขที่อยู่ในวงเล็บ เช่น [ABC] จะได้ A,B,C [A-D] จะได้ A,B,C,D [A-C]* อาจเป็น Ant, Bat, Computer [A-C][12] จะได้ A1, A2, B1, B2, C1, C2

อักขระตัวแทน (Wildcard) ! แทนตัวอักษรหรือตัวเลขนอกเหนือที่ระบุ เช่น !S* จะได้ข้อมูลอะไรก็ได้ที่ไม่ได้ขึ้นต้นด้วย S [!A-D] จะได้ตัวอักษรอะไรก็ได้ที่ไม่ใช่ A, B, C, D ตัวอย่างเช่น ฟิลด์ เงื่อนไข สิ่งที่ได้ Name Like “พ*” พนักงานที่ชื่อขึ้นต้นด้วย พ Zipcode In(“10240”,“10250”, “10310”) ผู้ที่อยู่ในเขตรหัสไปรษณีย์ 10240 หรือ 10250 หรือ 10310 Salary Between 15000 And 17000 ผู้ที่มีเงินเดือนระหว่าง 15,000 ถึง 17,000 บาท

ตัวกระทำเพื่อหาค่าว่าง เครื่องหมาย คำอธิบาย Is Null แสดง Field ที่เป็นค่าว่าง (Null) Is Not Null แสดง Field ที่ไม่เป็นค่าว่าง (Not Null)

การระบุชื่อฟิลด์ หากต้องการระบุชื่อฟิลด์ในเงื่อนไขเพื่อนำค่ามาเปรียบเทียบ ให้เขียนอยู่ในเครื่องหมาย [ ] รูปแบบ [ชื่อฟิลด์] หากใช้ร่วมกันหลายตารางข้อมูล อาจระบุชื่อตารางร่วมด้วยดังนี้ [ชื่อตาราง].[ชื่อฟิลด์] เช่น [Employee].[Salary]

Thank you !