หลักการกำเนิดไฟฟ้ากระแสสลับ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
อุปกรณ์โฟโต้ (Photo device)
Advertisements

สื่อการเรียนรู้ด้วยตนเอง วิชา ฟิสิกส์ เรื่อง คลื่น ระดับช่วงชั้นที่ 4
ไฟฟ้ากระแสสลับ Alternating Current
ไฟฟ้ากระแสสลับ (Alternating Current)
CHAPTER 9 Magnetic Force,Materials,Inductance
Conductors, dielectrics and capacitance
8.2 Ampere’s Law “อินทริกรัลเชิงเส้นของสนามแม่เหล็กรอบเส้นทางปิดใดๆมีค่าเท่ากับกระแสที่ผ่านเส้นทางปิดนั้น” สำหรับสนามแม่เหล็กที่เกิดจากกระแสเส้นตรงยาวอนันต์
คอยล์ ( coil ) สมพล พัทจารี วิศวกรรมไฟฟ้า.
แนะนำอิเล็กทรอนิกส์กำลัง (Power Electronics)
ตอบคำถาม 1. วงจรไฟฟ้า หมายถึง ตัวนำไฟฟ้า หมายถึง
Solar radiation รังสีที่แผ่ออกมาประกอบด้วย รังสีเอ๊กซ (X-ray) แกมมา (Gamma) อุลตราไวโอเลต (UV) คิดเป็นประมาณร้อยละ 9 ของพลังงานทั้งหมด นอกนั้นเป็นรังสีที่มองเห็นร้อยละ.
X-Ray Systems.
Welcome to Electrical Engineering KKU.
ดวงอาทิตย์ (The Sun).
Electromagnetic Wave (EMW)
โรงเรียนวัดปากน้ำฝั่งเหนือ
แผ่นดินไหว.
Physics II Unit 5 ความเหนี่ยวนำไฟฟ้า และ วงจรไฟฟ้ากระแสสลับ.
กฎของบิโอต์- ซาวารต์ และกฎของแอมแปร์
เส้นประจุขนาดอนันต์อยู่ในลักษณะดังรูป
ENCODER.
MAGNATICALLY COUPLED CIRCUITS
โรงไฟฟ้าพลังงานลม.
ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์
น้ำและมหาสมุทร.
บทที่ 4 การแปรสภาพพลังงานกลไฟฟ้า
สื่อการสอนเรื่องแรงบนตัวนำ
โสตทัศนูปกรณ์ประเภทเครื่องเสียง
การจำลองการทำงานของมอเตอร์ Mono Pole Motor
การซ่อมบำรุงไมโครคอมพิวเตอร์ (Intro.)
Electronic1 อิเล็กทรอนิกส์ 1 Electronic 1.
ตัวเหนี่ยวนำ (Inductor)
ความหมายและชนิดของคลื่น
SUPERCONDUCTORS จัดทำโดย 1..
คลื่นผิวน้ำ.
หม้อแปลง.
คลื่นหรรษา ตอนที่ 1 คลื่นหรรษา ตอนที่ 1 โดย อ.ดิลก อุทะนุต.
ระบบไฟฟ้ากับเครื่องกล
การวัดและทดสอบการทำงานของวงจรเครื่องส่งวิทยุ
แม่เหล็กไฟฟ้า Electro Magnet
 แรงและสนามของแรง ฟิสิกส์พื้นฐาน
กำลังไฟฟ้าที่สภาวะคงตัวของวงจรไฟฟ้ากระแสสลับ
สัปดาห์ที่ 15 โครงข่ายสองพอร์ท Two-Port Networks (Part I)
สัปดาห์ที่ 5 ระบบไฟฟ้าสามเฟส Three Phase System.
ตัวต้านทาน ทำหน้าที่ ต้านทานและจำกัดการไหลของกระแสไฟฟ้าในวงจร
การที่จะให้มันทำงานก็ต้องจ่ายไฟให้มันตามที่กำหนด
พลังงานลม.
โดย อ.วัชรานนท์ จุฑาจันทร์
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับวงจรไฟฟ้า
ไดแอก ( DIAC ) .
การศึกษาวงจรและการซ่อมบำรุงไมโครคอมพิวเตอร์
หมวดเครื่องใช้ไฟฟ้า : ลำโพง รายวิชา วิทยาศาสตร์
ความรู้พื้นฐานทางวิศวกรรมไฟฟ้า(252282) หน่วยและปริมาณทางไฟฟ้า
ความรู้พื้นฐานทางวิศวกรรมไฟฟ้า(252282) กฎของโอห์ม การคำนวณและการวัด
คลื่น คลื่น(Wave) คลื่น คือ การถ่ายทอดพลังงานออกจากแหล่งกำหนดด้วยการ
วงจรไฟฟ้ากระแสสลับ AC-Circuits Outline
Magnetic Particle Testing
สายสัมพันธ์ไฟฟ้า-แม่เหล็ก
บทที่ 5 เครื่องกําเนิดไฟฟากระแสสลับ (AC Generator)
ครูยุพวรรณ ตรีรัตน์วิชชา
การหักเหของแสง (Refraction)
ชนิดของคลื่น ฟังก์ชันคลื่น ความเร็วของคลื่น กำลัง, ความเข้มของคลื่น
ดาวพุธ (Mercury).
เทคโนโลยีมีความสัมพันธ์กับศาสตร์อื่นๆ โดยเฉพาะวิทยาศาสตร์
Stepper motor.
ตุ๊กตามหัศจรรย์ Magic doll
DC motor.
สนามแม่เหล็กและแรงแม่เหล็ก
ส่วนประกอบของวงจรไฟฟ้า
กลุ่ม คาวาอี้ ~~ จัดทำโดย ชั้น ม.4.11 นางสาว กรรณิการ์ ใจวัง เลขที่ 7
ใบสำเนางานนำเสนอ:

หลักการกำเนิดไฟฟ้ากระแสสลับ จัดทำโดย นางสาวพรนภา จักสาน นางสาวจิรัชญา เมืองมูล

หลักการกำเนิดไฟฟ้ากระแสสลับ พลังงานไฟฟ้าที่ใช้ในกันปัจจุบัน เกิดจาการค้นคว้า ทดลอง และค้นพบ ของนักวอทยาศาสตร์ เมื่อประมาณพุทธศักราช 2374 คือ ไมเคิล ฟาราเดย์ (Michael Faraday) และโจเซฟ เฮนรี่ (Joseph henry) โดยใช้วิธีการหมุดขดลวด ตัวนำเคลื่อนที่ตัดผ่านสนามแม่เหล็กจะมีแรงดันไฟฟ้าเหนี่ยวนำปรากฏที่ปลาย ของขดลวดตัวนำ และให้ลวดตัวนำเคลื่อนที่ในทิศทางตรงข้ามกันเข็มของกัล วานมิเตอร์จะกระดิกไปทิศทางหนึ่งซึ่งตรงข้ามกัน กระแสที่ไหลกลับไป กลับมา ดังกล่าว คือ หลักการของเครื่องกำเนิดไฟฟ้ากระแสสลับ (Alternation Current Generator)

การเกิดรูปคลื่นไซน์ ในสภาวะปกติเส้นแรงแม่เหล้กจะเคลื่อนที่จากขั้วเหนือไปยังขั้วใต้ โดยจะมี ความหนาแน่นของเส้นแรงแม่เหล็กมากที่สุดบริเวณกึ่งกลางขั้ว ดังนั้น เมื่อขดลวด ตัวนำเคลื่อนที่ตัดผ่านบริเวณกึ่งกลางขั้ว จะเกิดแรงดันไฟฟ้าเหนี่ยวนำสูงสุด

คาบเวลา คาบเวลา (Period) หมายถึง ช่วงเวลาที่เกิดรูปคลื่นครบ 1 ไซเกิล(ทั้งซีกบวกและ ซีกลบ) คาบเวลาใช้สัญลักษณ์ T มีหน่วยเป็นวินาที (Second ; s) แต่ในทางปฏิบัติ โดยทั่วไป อาจจะมีใช้หน่วยที่มีขนาดเล็กลง ได้แก่ Mill Second (ms) vเป็นต้น

เครื่องกำเนิดไฟฟ้า Generator หรือ เครื่องกำเนิดไฟฟ้าคืออะไร Generator หรือ เครื่องกำเนิดไฟฟ้า คือ เครื่องมือที่ใช้สำหรับแปลงพลังงานกลเป็นพลังงานไฟฟ้า โดยอาศัยหลักการทำงาน เมื่อมีสนามแม่เหล็กเคลื่อนที่ตัดผ่านขดลวด หรือขดลวดเคลื่อนที่ตัดสนามแม่เหล็กก็จะได้ไฟฟ้าออกมา เครื่องกำเนิดไฟฟ้าจะประกอบด้วยส่วนที่สำคัญสองส่วนคือ ส่วนที่สร้างสนามแม่เหล็ก เรียกกว่า ฟิลด์(Field)และส่วนที่สร้างแรงดันไฟฟ้าเรียกว่าอาเมเจอร์ (Armature)

ในเครื่องกำเนิดไฟฟ้ากระแสตรง ฟิลด์จะเป็นส่วนที่อยู่กับที่ อาเมเจอร์จะเป็นส่วนที่เคลื่อนที่ แต่ในเครื่องกำเนิดไฟฟ้ากระแสสลับ ฟิลด์และอาเมเจอร์ สามารถเป็นได้ทั้งส่วนที่อยู่กับที่และส่วนที่หมุน โดยในเครื่องกำเนิดไฟฟ้าขนาดเล็ก จะสามารถสร้างได้ทั้งแบบฟิลด์และอาเมเจอร์หมุน แต่ในเครื่องกำเนิดไฟฟ้าขนาดใหญ่ จะสร้างได้แต่แบบอาเมเจอร์อยู่กับที่เท่านั้น เพราะจะมีปัญหาน้อยกว่าแรงดันที่เกิดขึ้นในเครื่องกำเนิดไฟฟ้าจะมากหรือน้อย ขึ้นอยู่กับปัจจัยที่สำคัญสองตัวคือ ความเร็วรอบและเส้นแรงแม่เหล็ก

เครื่องกำเนิดไฟฟ้ากระแสตรงเราสามารถเพิ่มแรงดันไฟฟ้าขึ้นได้โดย การปรับค่าความเข้มของสนามแม่เหล็ก และเพิ่มความเร็วรอบของเครื่องกำเนิด แต่ในเครื่องกำเนิดไฟฟ้ากระแสสลับการเพิ่มแรงดันโดยการเพิ่มความเร็วไม่สามารถที่จะทำได้ เพราะจะทำให้ความถี่ของแรงดันไฟฟ้าที่ได้เปลี่ยนแปลงไป สามารถทำได้เพียงการปรับความเข้มของสนามแม่เหล็กเท่านั้น