คำสั่งเกี่ยวกับการรับ และแสดงผล

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
บทที่ 2 รหัสควบคุมและการคำนวณ
Advertisements

บทที่ 2 รหัสควบคุมและการคำนวณ
โครงสร้างโปรแกรมภาษา C
สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
โดยอาจารย์ศิริพร ศักดิ์บุญญารัตน์ ครูชำนาญการ โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์
ตัวแปรชุด การเขียนโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์ 1
ฟังก์ชั่นในภาษาซี.
การเขียนโปรแกรมด้วยคำสั่งเบื้องต้น
ข้อมูลชนิดสตริง String บทที่ 8
Introduction to C Programming
BC322 ครั้งที่ 6 Text file BC322 : computer Programming (Week6)
ครั้งที่ 8 Function.
การแสดงผล และการรับข้อมูล การแสดงผล และการรับข้อมูล.
Control Statement if..else switch..case for while do-while.
Department of Computer Business
การรับค่าและแสดงผล.
สายอักขระและ การประมวลผลสายอักขระ (String and String manipulation)
หลักการโปรแกรม 1 Lecture 3: ตัวแปร, นิพจน์คณิตศาสตร์, การคำนวณทางคณิตศาสตร์,การดำเนินการกับสายอักขระ.
Structure Programming
องค์ประกอบของโปรแกรม
Week 6 ประกาศค่าตัวแปร.
คำสั่งเพื่อการกำหนดเงื่อนไข
การแสดงผล และการรับข้อมูล
รับและแสดงผลข้อมูล.
โครงสร้างภาษาซี.
Lecture no. 2: Overview of C Programming
การรับข้อมูลเบื้องต้นโดยใช้ฟังก์ชั่น scanf
การประกาศตัวแปร “ตัวแปร” คือสิ่งที่เราสร้างขึ้นมาเพื่อใช้เก็บค่าต่างๆและอ้างอิงใช้งานภายในโปรแกรม ตามที่เรากำหนดขึ้น การสร้างตัวแปรขึ้นมาเราเรียกว่า.
Arrays.
Week4 Data types, Variables, Operators and Input/output (ต่อ)
บทที่ 6 ตัวแปรอาร์เรย์ (Array of Variable)
C Programming Lecture no. 6: Function.
Programming With C Data Input & Output.
บทที่ 9 การรับและแสดงผลข้อมูล
บทที่ 11 การเขียนโปรแกรมภาษาซี
ข้อมูลพื้นฐานและตัวดำเนินการ
หน่วยที่ นิพจน์ในภาษา C
บทที่ ไลบรารีฟังก์ชัน
หน่วยที่ 1 พื้นฐานภาษา C
หน่วยที่ 14 การเขียนโปรแกรมย่อย
การคำนวณทางคณิตศาสตร์ ตัวดำเนินการ
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
ตัวแปรกับชนิดของข้อมูล
ง30212 การเขียนโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์ โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม
ฟังก์ชันรับข้อมูล ง30212 การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
ง30212 พื้นฐานการเขียนโปรแกรม ศูนย์คอมพิวเตอร์ โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม
ง30212 การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม
อาจารย์นัณฑ์ศิตา ชูรัตน์
การรับและพิมพ์ข้อมูลเบื้องต้น
ตัวแปรกับชนิดของข้อมูล
Week 2 Variables.
การประมวลผลสายอักขระ
Computer Programming for Engineers
2 /* ข้อความนี้เป็นเพียงคำอธิบาย ไม่มีผลต่อขั้นตอนการ ทำงานของโปรแกรม */ /* A simple program to display a line of text */ #include void main ( ) { printf.
Overview of C Programming
คำสั่งรับค่า และ แสดงผลค่า. คำสั่งรับ - แสดงผล 1. printf( ) เป็น ฟังก์ชันที่ใช้ในการ แสดงผลข้อมูลที่อยู่ในตัว แปร ค่าคงที่ นิพจน์ออกมา ทางจอภาพ.
โครงสร้างภาษาซี #include <stdio.h> void main() {
โครงสร้างโปรแกรมภาษาซี
Output of C.
Java Programming Java Structure and Datatype,Variable
ตัวแปรและชนิดของข้อมูล (Variables & Data Types)
หน่วยที่ 4 โครงสร้างโปรแกรมภาษาซี
บทที่ 7 เงื่อนไขในภาษาซี
CONDITION Computer Programming Asst. Prof. Dr. Choopan Rattanapoka.
บทที่ 5 รหัสควบคุมและ การคำนวณ C Programming C-Programming.
L/O/G/O ฟังก์ชั่นการรับและ แสดงผล และฟังก์ชั่นทาง คณิตศาสตร์
ตัวแปร และชนิดข้อมูล.
การเขียนโปรแกรม (ภาษาซี)
1 สตริง (String) การประกาศค่าตัวแปรสตริง การกำหนดค่าสตริง การอ้างอิงตัวอักษรแต่ละตัวในสตริง ฟังก์ชั่นที่ใช้ในการจัดการสตริง ฟังก์ชั่นในการเปลี่ยนรูปแบบของสตริง.
Computer Programming การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

คำสั่งเกี่ยวกับการรับ และแสดงผล บทที่ 3 คำสั่งเกี่ยวกับการรับ และแสดงผล

Outline ฟังก์ชันการแสดงผลข้อมูล ฟังก์ชันการรับข้อมูล

คำสั่งเกี่ยวกับการรับ และแสดงผล ชนิดข้อมูลของภาษาซีมีหลายประเภท และมีวิธีการใช้งานได้หลายรูปแบบ เพื่อให้การรับข้อมูล และการแสดงผลข้อมูล เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของการใช้งาน

ฟังก์ชันการแสดงผลข้อมูล ฟังก์ชัน printf() คือฟังก์ชันที่ใช้สำหรับแสดงผลข้อความ และค่าของข้อมูลที่เก็บไว้ในตัวแปร ทั้งข้อมูลชนิดเลขจำนวนเต็ม เลขทศนิยม ตัวอักษร และข้อมูลชนิดข้อความ

รูปแบบคำสั่ง printf() control string หมายถึง ตัวอักษร ข้อความ ตัวกำหนดชนิดข้อมูล (Specifier) และ backslash character constant variable_list หมายถึง ตัวแปรที่ต้องการกำหนด อาจเป็น 1 ชื่อตัวแปร หรือมากกว่า ถ้าต้องการกำหนดให้มีมากกว่า 1 ชื่อตัวแปร ให้แบ่งคั่นตัวแปรด้วยเครื่องหมาย Comma (,) printf(“control string”,variable list);

ตัวกำหนดชนิดข้อมูล %c แทนตัวอักษร %d แทนเลขจำนวนเต็ม %e แทนเลขในรูปเอกซ์โพเนนเชียล (exponential form) %f แทนเลขทศนิยม %o แทนเลขฐานแปด %s แทนสตริงก์ %u แทนเลขจำนวนเต็ม ไม่คิดเครื่องหมาย %x แทนเลขฐานสิบหก %p แทนข้อมูลแบบพอยน์เตอร์ (pointer) %% แทนเครื่องหมายเปอร์เซ็นต์

backslash character constant \b backspace \n newline \r carriage return \t horizontal tab \” double quote \’ single quote \o null \\ backslash

ตัวอย่าง 3.1 การใช้ฟังก์ชัน printf() #include <stdio.h> #include <conio.h> void main(void) { printf("Hello Turbo C"); getch(); }

ตัวอย่าง 3.2 การใช้ฟังก์ชัน printf() #include <stdio.h> #include <conio.h> void main(void) { int n; clrscr(); n=100; printf("Number = %d",n); getch(); }

ตัวอย่าง 3.3 การใช้ฟังก์ชัน printf() #include <stdio.h> #include <conio.h> void main(void) { int base,height; float area; clrscr(); base=10; height=5; area=0.5*base*height; printf("Base = %d\n",base); printf("Height = %d\n",height); printf("Area of Triangle = %.2f\n",area); getch(); } ผลลัพธ์ Base =10 Height =5 Area of Triangle =25.00

ตัวอย่าง 3.4 การใช้ฟังก์ชัน printf() #include <stdio.h> #include <conio.h> void main(void) { int a=10; long int b=100; float c=2.54; printf("a = %d\n",a); printf("b = %ld\n",b); printf("c = %f\n",c); getch(); } ผลลัพธ์ a = 10 b = 100 c = 2.54

ตัวอย่าง 3.5 การใช้ฟังก์ชัน printf() #include <stdio.h> #include <conio.h> void main(void) { int a=10; float b=2.54; printf("a = [%5d]\n",a); printf("a = [%-5d]\n",a); printf("b = [%10.2f]\n",b); printf("b = [%-10.2f]\n",b); getch(); } ผลลัพธ์ a = [ 10] a = [10 ] b = [ 2.54] b = [2.54 ]

ตัวอย่าง 3.6 การใช้ฟังก์ชัน printf() #include <stdio.h> #include <conio.h> void main(void) { char str[10] =”Computer”; printf("[%10s]\n",str); printf("[%-10s]\n",str); getch(); } ผลลัพธ์ [ Computer] [Computer ]

ตัวอย่าง 3.8 การใช้ฟังก์ชัน printf() printf("[%4.2f]\n",f); printf("[%f]\n",f); printf("[%e]\n",f); printf("[%d]\n",i); printf("[%o]\n",i); printf("[%x]\n",i); printf("[%u]\n",i); printf("[%10s]\n",str); printf("[%-10s]\n",str); getch(); } #include <stdio.h> #include <conio.h> void main() { int i=10; float f = 3.19; char str[10]=”Test”; clrscr(); printf("[%d]\n",i); printf("[%5d]\n",i); printf("[%-5d]\n",i); printf("[%10.2f]\n",f); ผลลัพธ์ [10] [ 10] [10 ] [ 3.19] [3.19] [3.190000] [3.190000e+00] [12] [a] [ Test] [Test ]

ฟังก์ชันการรับข้อมูล ฟังก์ชัน scanf() คือฟังก์ชันที่ใช้สำหรับรับข้อมูลผ่านแป้นพิมพ์ ข้อมูลที่ป้อนจะแสดงบนจอภาพ เมื่อกด Enter ข้อมูลป้อนเข้ามาจะเก็บไว้ที่ variable

ฟังก์ชัน scanf() รูปแบบคำสั่ง ความหมาย scanf(“format code”,&variable); format code หมายถึง ตัวกำหนดชนิดข้อมูล (Specifier) variable หมายถึง ตัวแปรที่ต้องการกำหนด อาจเป็น 1 ชื่อตัวแปร หรือมากว่า ถ้าต้องการกำหนดให้มีมากกว่า 1 ชื่อตัวแปร ให้แบ่งคั่นตัวแปรด้วยเครื่องหมาย Comma (,) และจะต้องมี format code เท่ากับจำนวนของ variable และตัวแปรที่ใช้จะต้องนำหน้าด้วย & เสมอ scanf(“format code”,&variable);

ตัวอย่าง 3.11 การใช้ฟังก์ชัน scanf() #include <stdio.h> #include <conio.h> void main(void) { int n; clrscr(); printf("Enter A Number : "); scanf("%d",&n); printf("Number = %d",n); getch(); }

ตัวอย่าง 3.12 การใช้ฟังก์ชัน scanf() #include <stdio.h> #include <conio.h> void main(void) { int n1,n2; clrscr(); printf("Enter Number : "); scanf("%d %d",&n1,&n2); printf("Number 1 = %d\n",n1); printf("Number 2 = %d\n",n2); getch(); }

ตัวอย่าง 3.13 การใช้ฟังก์ชัน scanf() #include <stdio.h> #include <conio.h> void main(void) { int n1,n2; clrscr(); printf("Enter Number1 : "); scanf("%d",&n1); printf("Enter Number2 : "); scanf("%d",&n2); printf("Number 1 = %d\n",n1); printf("Number 2 = %d\n",n2); getch(); }

ตัวอย่าง 3.14 การใช้ฟังก์ชัน scanf() /* scanf-printf */ #include <stdio.h> #include <conio.h> void main(void) { char ch; clrscr(); printf("Enter 1 Character : "); scanf("%c",&ch); printf("You Enter : %c",ch); getch(); }

ตัวอย่าง 3.15 การใช้ฟังก์ชัน scanf() /* scanf-printf */ #include <stdio.h> #include <conio.h> void main(void) { char name[30]; clrscr(); printf("Enter Your Name-Surname : "); scanf("%s",&name); printf("Your Name-Surname : %s",name); getch(); }