อาร์เรย์ (Arrays).

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Suphot Sawattiwong Array ใน C# Suphot Sawattiwong
Advertisements

Arrays.
สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
โดยอาจารย์ศิริพร ศักดิ์บุญญารัตน์ ครูชำนาญการ โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์
ตัวแปรชุด การเขียนโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์ 1
ข้อมูลชนิดอาร์เรย์ Array (บทที่ 5)
BC322 ครั้งที่ 10 ตัวแปรชุด (Array)
ครั้งที่ 12 การค้นหาข้อมูล (Searching)
ตัวแปรชุด (Array) Chapter Introduction to Programming
Chapter 7 ขอบเขตของตัวแปร Variable Scope.
Principles of Programming
Principles of Programming
โครงสร้างการควบคุมการทำงานของโปรแกรม Program control structures
Data Type part.II.
Control structure part II
Functional programming part II
Data Type part.III.
Lecture 11: อาร์เรย์แบบหลายมิติ
Lecture 10: อาร์เรย์หนึ่งมิติ
ทบทวน อาร์เรย์ (Array)
Array.
ทบทวน Array.
ARRAY.
PHP LANGUAGE.
อาเรย์ (Array).
ปฏิบัติการครั้งที่ 9 ฟังก์ชัน.
บทที่ 1. พื้นฐานความรู้ทั่วไป
Arrays.
Arrays.
Kairoek Choeychuen M.Eng (Electrical), KMUTT
บทที่ 6 ตัวแปรอาร์เรย์ (Array of Variable)
ARRAY ข้อมูลชนิดอาร์เรย์
ข้อมูลชนิดอาร์เรย์ ประเภทของข้อมูลที่ผ่านมาส่วนใหญ่ในตอนต้นๆจะเป็นข้อมูลเดี่ยว โดยตัวแปรหนึ่งตัวสามารถเก็บข้อมูลได้หนึ่งตัว ถ้าหากต้องการเก็บข้อมูลหลายตัวจะต้องประกาศตัวแปรหลายตัว.
บทที่ 4 Method (2).
ข้อมูลพื้นฐานและตัวดำเนินการ
อาร์เรย์และข้อความสตริง
อาร์เรย์ ชื่อ น. ส. พิชชากานต์ ไชยชาญยุทธ์ เลขที่ 22 ชั้นสทส.1/1.
บทที่ 2 อาร์เรย์ อาร์เรย์ คือ ชุดของตัวแปรเดียวกัน ซึ่งสมาชิกของอาร์เรย์จะเป็นตัวแปรพื้นฐาน จำนวนสมาชิกในอาร์เรย์มีขนานแน่นอน และสมาชิกของอาร์เรย์แต้ละตัว.
อาร์เรย์ (Array).
อาร์เรย์ (Array).
ตัวแปร (Variable) คือ ชื่อที่ตั้งขึ้นเพื่อเก็บข้อมูลในหน่วยความจำ สามารถเก็บข้อมูลชนิดใดก็ ได้ ลักษณะที่สำคัญ ค่าที่จัดเก็บ เมื่อปิดโปรแกรมข้อมูลจะหายไป.
อาร์เรย์ หรือแถวลำดับ (Array)
บทที่ 7 คำสั่งสำหรับเขียนโปรแกรม
บทที่ 8 อาร์เรย์.
ตัวแปรในภาษา JavaScript
แถวลำดับ (array) ง40202 การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
อะเรย์ในภาษา php การเขียนเว็บเพจด้วยภาษา php ศูนย์คอมพิวเตอร์โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม.
ค33212 คณิตศาสตร์คอมพิวเตอร์ 6
1 บทที่ 7 _ต่อ การเขียนโปรแกรมเพิ่มเติม. 2 การทำงานกับ MovieClips มูฟวี่คลิปเป็นออบเจกต์หนึ่งใน ActionScript ที่มี method และ property ให้เราใช้งานได้
เก็บข้อมูลเป็นกลุ่มด้วยอาร์เรย์
โครงสร้างข้อมูลคืออะไร ?
เสรี ชิโนดม Array in PHP เสรี ชิโนดม
Array.
ตัวแปรชุด Arrays.
ลิงค์ลิสต์ (Linked List)
CHAPTER 3 System Variables and Array
PHP: [8] การสร้างฟังก์ชั่นขึ้นใช้เอง (User-defined functions)
Computer Programming การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
ตัวแปร Array แบบ 1 มิติ การเขียนโปรแกรมแบบวนซ้ำ
ข้อมูลแบบโครงสร้างและยูเนียน
บทที่ 9 พอยเตอร์. สื่อชุดนี้เป็นลิขสิทธิ์ของสำนักพิมพ์วังอักษรใช้เพื่อ การศึกษาเท่านั้น พอยเตอร์ (Pointer) พอยเตอร์คือต้นฉบับของชนิดข้อมูล เป็นชนิด ข้อมูลที่สร้างจากข้อมูลมาตรฐานชนิดหนึ่ง.
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
บทที่ 2 โครงสร้างของภาษา C.
stack #1 ผู้สอน อาจารย์ ยืนยง กันทะเนตร
โครงสร้างข้อมูลแบบ สแตก (stack)
Week 13 Basic Algorithm 2 (Searching)
บทที่ 6 ตัวแปรชุดและ สตริง รายวิชา ง การเขียนโปรแกรมเชิง วัตถุ Reading: ใบความรู้ บทที่ 6.
สำนักวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มหาวิทยาลัยนเรศวร พะเยา
การพยาบาลผู้ใหญ่ที่มีปัญหาโรคของระบบกระดูกและกล้ามเนื้อ (musculoskeletal disorders) อ. วรุณศิริ ปราณีธรรม.
สาธารณสุขยุคใหม่ สร้างสังคมสุขภาพดี วิถีธรรม วิถีไทย
ใบสำเนางานนำเสนอ:

อาร์เรย์ (Arrays)

อาร์เรย์ (Arrays) อาร์เรย์ ( Array) คือ ชุดของข้อมูล ( Data Sets) หรือชุดของตัวแปรใช้ สำหรับเก็บ ค่าของข้อมูลที่อยู่ในกลุ่มเดียวกัน ซึ่งมีการเรียงลำดับที่แน่นอน โดยลำดับของ อาร์เรย์ โดยปกติ จะเริ่มจากศูนย์ และเป็นลำดับต่อเนื่องไปจนถึงตัวสุดท้าย อาร์เรย์แตกต่างจากตัวแปรทั่วไป คือ ตัวแปรโดยทั่วไปจะถูกจัดเก็บใน หน่วยความจำแบบไม่ต่อเนื่องกัน แต่ตัวแปรประเภทอาร์เรย์จะถูกเก็บใน หน่วยความจำในตำแหน่งที่ต่อเนื่องกัน

อาร์เรย์ (Arrays) ข้อมูลแต่ละตัวในอาร์เรย์ เรียกว่า "สมาชิก (Member) หรืออิลิเมนต์ (Element)" โดย สมาชิกเหล่านี้ มักจะมี ความสัมพันธ์ กันในลักษณะใดลักษณะหนึ่ง สำหรับใน PHP ข้อมูลที่เก็บในอาร์เรย์ไม่จำเป็นต้องเป็นข้อมูลชนิดเดียวกัน สมาชิกแต่ละตัวจะ ประกอบด้วยค่าข้อมูล ( Value) และอินเด็กซ์ (Index) เปรียบเสมือนเป็นคีย์ (Key) ของอาร์เรย์ที่ใช้อ้างอิงถึงตำแหน่งของสมาชิกแต่ละตัวในอาร์เรย์

ตารางแสดงตัวอย่างข้อมูลแบบอาร์เรย์ และแสดงตำแหน่งของอินเด็กซ์ หมายเลขอินเด็กซ์ ค่าของข้อมูลหรือสมาชิก ลำดับที่ของสมาชิก สุราษฎร์ธานี 1 กระบี่ 2 ชุมพร 3

การสร้างอาร์เรย์ (Create arrays) การสร้างอาร์เรย์มีหลักๆ คือ 1) การใช้ ฟังก์ชัน array ( ) 2) การใช้ ฟังก์ชัน range ( ) 3) การสร้างโดยใช้เครื่องหมายวงเล็บก้ามปู [ ]

การใช้ฟังก์ชัน array ( ) รูปแบบที่ 1 กรณีไม่กำหนดอินเด็กซ์ให้กับสมาชิก $ชื่ออาร์เรย์ = array ( ลำดับที่ 1, ลำดับที่ 2, .., ลำดับที่ N );

การใช้ฟังก์ชัน array ( ) รูปแบบที่ 1 กรณีไม่กำหนดอินเด็กซ์ให้กับสมาชิก <?php $province = array (" สุราษฎร์ธานี " , " กระบี่ " , " ชุมพร" , " นครศรีธรรมราช" , " พังงา" , " ภูเก็ต" , " ระนอง" ); print_r ($province); // ใช้แสดงข้อมูลในอาร์เรย์ ?>

การใช้ฟังก์ชัน array ( ) ตัวอย่าง <?php $province[ ] = "สุราษฎร์ธานี " ; $province[ ] = "กระบี่ " ; $province[ ] = "ชุมพร" ; $province[ ] = "นครศรีธรรมราช" ; print_r ($province); ?>

การใช้ฟังก์ชัน array ( ) รูปแบบที่ 2 กรณีกำหนดอินเด็กซ์ให้กับสมาชิก $ชื่ออาร์เรย์ = array ( Key1=>สมาชิกลำดับที่ 1, Key2=>สมาชิกลำดับที่ 2, ... );

รูปแบบที่ 2 กรณีกำหนดอินเด็กซ์ให้กับสมาชิก < รูปแบบที่ 2 กรณีกำหนดอินเด็กซ์ให้กับสมาชิก <?php $province = array ( "Surat" => "สุ ราษฎร์ ธานี ", "Krabi" => "กระบี่", "Chumphon" => "ชุมพร", "Nakhon" => "นครศรีธรรมราช“ ); echo $province["Surat"]; // ผลลัพธ์ คือ สุราษฎร์ธานี ?>

การใช้ฟังก์ชัน array ( ) <?php $province = array ( ); // สร้างอาร์เรย์ว่าง $province [0] = "สุราษฎร์ธานี "; // กำหนดสมาชิก $province [0] = "ยะลา"; // แก้ไขปรับปรุงค่าข้อมูลสมาชิกเดิม $province [7] = "เชียงใหม่ "; // เพิ่มข้อมูลสมาชิกใหม่ print_r ($province); ?>

ฟังก์ชั่น range ( ) ฟังก์ชั่น range ( ) เป็นฟังก์ชั่นที่ใช้ สำหรับสร้างอาร์เรย์ โดยกำหนดค่า ข้อมูลเป็นช่วงของตัวเลขหรือตัวอักษร เรียงลำดับ จากน้อยไปหามากหรือมากไปหา น้อย ( เป็นลักษณะข้อมูลที่เกี่ยวเนื่องกันเป็นชุด ) มีรูปแบบ ดังนี้

ฟังก์ชั่น range ( ) รูปแบบ array range (mixed $start, mixed $limit [, number $step = 1]) เมื่อ $start หมายถึง ค่าเริ่มต้นของลำดับ $limit หมายถึง ค่าสุดท้ายของลำดับ $step หมายถึง ค่าความต่างของข้อมูล จะกำหนดหรือไม่ก็ ได้ ถ้าไม่กำหนดค่าจะเพิ่มครั้งละ 1 ค่า

ฟังก์ชั่น range ( ) ตัวอย่าง <?php foreach (range (0, 12) as $number) echo $number . " “; // ผลลัพธ์ คือ 0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 ?>

การสร้างโดยใช้เครื่องหมายวงเล็บก้ามปู [ ] การสร้างโดยใช้เครื่องหมายวงเล็บก้ามปู [ ] การสร้างอาร์เรย์ ด้วยวิธีนี้ เป็นการกำหนดค่าให้ กับอาร์เรย์ โดยตรง โดยสร้างครั้งละ 1 สมาชิก นอกจากนี้ยังสามารถนำไปใช้ในการเพิ่มสมาชิกให้กับอาร์เรย์ที่มีอยู่แล้วก็ ได้

การสร้างโดยใช้เครื่องหมายวงเล็บก้ามปู [ ] การสร้างโดยใช้เครื่องหมายวงเล็บก้ามปู [ ] รูปแบบ array array_name [Key] = value; เมื่อ array_name หมายถึง ชื่อตัวแปรอาร์เรย์ Key หมายถึง อินเด็กซ์ของตัวแปรอาร์เรย์ (จะกำหนดหรือไม่ก็ได้ ) value หมายถึง ค่าของข้อมูลที่จะกำหนดให้ ตัวแปรอาร์เรย์

การสร้างโดยใช้เครื่องหมายวงเล็บก้ามปู [ ] การสร้างโดยใช้เครื่องหมายวงเล็บก้ามปู [ ] ตัวอย่าง <?php $country [1] = "Thailand"; $country [A] = "Japan"; print_r ($country); // ผลลัพธ์ คือ Array ( [1] => Thailand [A] => Japan ) ?>