โรคติดต่อทางพันธุกรรม

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โดย แพทย์หญิงมยุรา เทพเกษตรกุล อายุรแพทย์เฉพาะทางโรคเบาหวานและระบบต่อมไร้ท่อ คลินิกเบาหวาน ร. พ. กรุงเทพพัทยา.
Advertisements

เด็กฉลาด สร้างได้ด้วย ไอโอดีน.
หอผู้ป่วยจิตเวช 2 ยินดีนำเสนอ.
กลุ่มวิจัยธาลัสซีเมีย
การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
แนวข้อสอบ - เมนเดลเป็นนักพันธุศาสตร์ที่ทำการศึกษาเกี่ยวกับเรื่อง ต้นถั่วลันเตา - ลักษณะพันธุกรรมที่ถ่ายทอดไปสู่รุ่นลูกเรียกว่า ลักษณะเด่น - ลักษณะพันธุกรรมที่ถ่ายทอดไปสู่รุ่นหลาน.
วิตามินบี 12 (Cobalamin)
การดูแลการเจริญ เติบโต ในวัยรุ่น
โรคความดันโลหิตสูง จัดทำโดย 1. เด็กหญิงชุติกาญจน์ สินโสภา เลขที่ 9
รายงาน เรื่อง โรคเลือดออกตามไรฟัน จัดทำโดย ด.ช. ทรงยศ แจ่มวัย เลขที่ 16 ม.1/5 ด.ช. กัมปนาท สิหงศิวานนท์
Gene and Chromosome UMAPORN.
Thailand Research Expo
โรคเลือดจางธาลัสซีเมีย ภัยแอบแฝงที่แก้ได้
หอผู้ป่วยทารกแรกเกิด 2
การปฏิบัติตัวขณะได้รับยาเคมีบำบัด โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่
ยินดีต้อนรับ สู่..ตึกโรคปอด.
หอผู้ป่วย อายุรกรรม หญิง 3.
งานสุขศึกษา หอผู้ป่วยกุมาร 3
โรคเอสแอลอี.
มะเร็งเม็ดเลือดขาว หรือ…..ลิวคีเมีย จัดทำโดย น.ส. สุดารัตน์ เมืองเจริญ
ความต้องการแร่ธาตุของโคนม
โรคนิวคาสเซิล (Newcastle disease : ND)
โรคอหิวาต์เป็ด ไก่ (Fowl cholera)
เพียงใดถ้าคนไทย พุงเกิน 80 ,90
การให้การปรึกษาทางพันธุศาสตร์ ธาลัสซีเมีย
โรคที่เกิดจากฮอร์โมนผิดปกติ
โรคที่เกิดจากความผิดปกติของ Hormone
เบาหวาน ผลิตโดย...กลุ่มงานสุขศึกษา โรงพยาบาลยะลา.
ภาวะตัวเหลืองในทารกแรกเกิด
ภาวะไตวาย.
แนวทางการดำเนินงาน ส่งเสริม ป้องกันและควบคุมโรคธาลัสซีเมีย
นางวิมล นวลมี พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
โดย โรงพยาบาลร้องกวาง
โรคมือปากเท้าเปื่อย (Hand foot mouth syndrome)
โดย นางนวลใย วรรณเวช พยาบาลวิชาชีพ 7 กลุ่มการพยาบาล โรงพยาบาลพัทลุง
Mental Retardation เด็กปัญญาอ่อน
ส่งเสริมสัญจร.
ผลไม้ลดความอ้วน.
“การชะลอภาวะไตวายเรื้อรัง”
โภชนาการโรคถุงลมโป่งพองเรื้อรัง
ไม่ใช่ผู้ร้ายอย่างที่คิด ฝ่ายโภชนาการ รพ.ภูมิพลฯ
โรคเบาหวาน เบาหวาน คือภาวะที่ร่างกายมีระดับน้ำตาลในเลือดสูงกว่าปกติ เนื่องมาจากร่างกายไม่สามารถนำน้ำตาลในเลือดไปใช้ได้ตามปกติ ซึ่งเกิดจากความผิดปกติของต่อมไร้ท่อที่ตับอ่อนปล่อยฮอร์โมนที่เรียกว่า.
คำแนะนำเรื่อง โรค มือ เท้า ปาก สำหรับผู้ปกครอง.
โภชนาการโรคหลอดเลือดสมอง
โรคติดเชื้อไวรัสไข้หวัดใหญ่
ควรเริ่มตรวจแป๊บสเมียร์เมื่อใด ใครบ้างที่ควรตรวจแป๊บสเมียร์
นางวิมล นวลมี พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
การเฝ้าระวังการเจริญเติบโต ของเด็กปฐมวัย
โคเลสเตอรอล โคเลสเตอรอล (Cholesterol) เป็นอนุพันธ์ของ ไขมัน ที่อยู่ตามส่วนต่าง ๆ ของร่างกายมนุษย์ และสัตว์ เป็นสิ่งจำเป็นที่ช่วยให้ร่างกายทำงานได้
โรคเบาหวาน ภ.
กินตามกรุ๊ปเลือด.
เข้าสู่ การนำเสนอเรื่อง โรคเหน็บชา
8 พันธุ์หมูที่เลี้ยงง่าย
Nipah virus.
นมแม่สร้างลูก แข็งแรงและฉลาด
ความสำคัญของปัญหา พันธุกรรมทางโลหิตวิทยา พบได้บ่อย ถ่ายทอดได้ ( autosomal recessive ) มีความรุนแรงมาก ตั้งแต่ตายในครรภ์ หรือตายหลังคลอด เป็นทุกข์ต่อจิตใจของผู้ป่วยและบิดา.
อย่า ! ให้คนที่รักต้องจากไปเพราะ...
วัณโรค อยู่ใกล้ตัวคุณ...แค่นี้เอง.
Teenage pregnancy.
นิ่วในถุงน้ำดี งานสุขศึกษา โรงพยาบาลพะเยา.
โรคกระเพาะอาหาร Gastritis.
ผลกระทบของปัญหาการมีเพศสัมพันธ์ ก่อนวัยอันควร
ด.ญ.ดวงดาว เจริญศรี เลขที่12 ชั้น ม.3/2
อิทธิพลของฮอร์โมนเพศ
โรคเบาหวาน เป็นชื่อของกลุ่มอาการของโรค ที่ร่างกายไม่สามารถใช้น้ำตาลได้
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โรคติดต่อทางพันธุกรรม

โรคติดต่อทางพันธุกรรม โรคทางพันธุกรรม หมายถึง โรคที่มีความผิดปกติ ขององค์ประกอบของจีนและโครโมโซม ทั้งนี้ โรคทาง พันธุกรรม นี้ เป็นโรคติดตัวไปตลอดชีวิต ไม่สามารถ รักษาให้หายขาดได้

โรคทางพันธุกรรมที่พบได้บ่อย โรคธาลัสซีเมีย โรคฮีโมฟีเลีย โรคดาวน์ซินโดรม

โรคดาวน์ซินโดรม (Down syndrome) โรคที่เกิดจากความผิดปกติของระดับโครโมโซม เป็นโรคทางพันธุกรรมที่เด็กจะมีอาการปัญญา อ่อน และหน้าตาดูแปลกไปจากปกติ มักพบในเด็ก ที่แม่ตั้งครรภ์เมื่ออายุเกิน 35 ปี

อาการของโรค เด็กกลุ่มอาการดาวน์จะมีศีรษะค่อนข้างเล็ก แบน ตา เฉียงขึ้น ดั้งจมูกแบน ปากเล็ก มือสั้น ขาสั้น ตัวเตี้ย ปัญญาอ่อน ไอคิว 20-150

แนวทางการป้องกัน ป้องกันได้โดยการวินิจฉัยก่อนคลอด ปัจจุบันมักทำ กันในหญิงตั้งครรภ์ที่อัตราเสี่ยงสูง เช่น อายุ มากกว่า 35 ปีขึ้นไป 

อาหารที่เหมาะสำหรับผู้ป่วยโรคดาวน์ซินโดรม ควรเป็นอาหารบำรุงสมอง เพราะ เด็กเหล่านี้ จะมีเชาว์ปัญญาอยู่ในระดับปัญญาอ่อนปาน กลาง

โรคธาลัสซีเมีย ( Thalassemia ) เป็นโรคทางพันธุกรรมที่มีความผิดปกติของ สารสีแดงในเม็ดเลือด ทำให้ผู้ป่วยมีอาการโลหิต จางเรื้อรัง 

อาการของโรค จะมีอาการซีด ตาขาวสีเหลือง ตัวเหลือง ตับโต ม้ามโต ผิวหนังดำคล้ำ กระดูกใบหน้าจะเปลี่ยน รูป มีจมูกแบน กะโหลกศีรษะหนา

แนวทางการป้องกัน ผู้ที่ไม่เป็นโรค จะแต่งงานควรตรวจคู่สมรส ถ้าคู่ สมรสมียีนผิดปกติ ควรวางแผนครอบครัว  หรือ ปรึกษาแพทย์ก่อนมีบุตร

อาหารที่เหมาะสำหรับผู้ป่วยโรคธาลัสซีเมีย หลีกเลี่ยงอาหารรส หวานจัด เค็มจัด และ อาหารที่มีธาตุเหล็กสูง อาหารคุณภาพดีที่ให้โปรตีนสูง เช่น เนื้อสัตว์ ต่าง ๆ ไข่ นม และอาหารที่มีวิตามิน

โรคฮีโมฟิเลีย (Hemophilia)  เป็นโรคทางพันธุกรรมที่ปัจจัยการแข็งตัว ของ เลือดผิดปกติ ทำให้ผู้ป่วยมีอาการ เลือดออกไม่ หยุดหรือหยุดยาก 

อาการของโรค ผู้ป่วยจะมีอาการเลือดออกง่ายเป็นๆ หาย ๆ มาตั้งแต่เด็ก มักจะออกเป็นเป็นจ้ำใหญ่ (ไม่เป็น จุดแดง) โดยมักเกิดจากการกระทบกระแทก เล็ก ๆ น้อย ๆ

แนวทางการป้องกัน โรคฮีโมฟิเลียนี้ พบในผู้ชาย ดังนั้น หากลูกชายมี อาการเลือดออกง่าย หยุดยาก เช่น ฉีดวัคซีนแล้ว เลือดยังคงซึมตรงรอยฉีดอยู่นาน จำเป็นต้องรีบ พาลูกไปพบแพทย์

อาหารที่เหมาะสำหรับผู้ป่วยโรคฮีโมฟิเลีย ควรเป็นอาหารที่มีวิตามินเค ช่วยทำให้เลือด แข็งตัวได้

รายชื่อสมาชิกในกลุ่ม น.ส.ณัฐธยาน์ อภินันทศาสตร์ เลขที่ 22 น.ส.วันนูรัสลิน แสงรายยิ่งยศ เลขที่ 23 น.ส.สรัลชนา วงษ์มาน เลขที่ 24 น.ส.ฝนแก้ว รัตนดิลก ณ ภูเก็ต เลขที่ 32 น.ส.นลพรรณ ปั้นทอง เลขที่ 33 น.ส.วัลลภา ทีสกุล เลขที่ 35 น.ส.ธัญญลักษณ์ ศรีอนงค์ เลขที่ 36 มัธยมศึกษาปีที่ 4/7