ตัวประกอบ (Factor) 2 หาร 8 ลงตัว 3 หาร 8 ไม่ลงตัว 4 หาร 8 ลงตัว

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ลิมิตและความต่อเนื่อง
Advertisements

บทที่ 3 ลำดับและอนุกรม (Sequences and Series)
Number Theory (part 1) ง30301 คณิตศาสตร์ดิสครีต.
DSP 6 The Fast Fourier Transform (FFT) การแปลงฟูริเยร์แบบเร็ว
Computer Programming 1 1.หากต้องการพิมพ์ให้ได้ผลลัพธ์ดังนี้ต้องเขียน code อย่างไร (ใช้for)
บทที่ 5 การบริหารลูกหนี้
สาระการเรียนรู้ มาตรฐานการเรียนรู้
ชื่อสมบัติของการเท่ากัน
สื่อบทเรียน multipoint
บทนิยาม1.1 ให้ m, n น 0 เป็นจำนวนเต็ม n หาร m ลงตัวก็ต่อเมื่อ มี c ฮ Z ซึ่ง m = nc เรียก n ว่า ตัวหาร (divisor) ตัวหนึ่งของ m ใช้ n|m แทน " n หาร m ลงตัว.
ทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น โดย ครูภรเลิศ เนตรสว่าง โรงเรียนเทพศิรินทร์
จำนวนเต็ม จำนวนเต็ม  ประกอบด้วย                   1. จำนวนเต็มบวก    ได้แก่  1 , 2 , 3 , 4, 5 , ....                   2.  จำนวนเต็มลบ      ได้แก่  -1.
LAB # 3 Computer Programming 1
สัญลักษณ์ของการประเมินผลการศึกษา
จำนวนนับ และการบวก การลบ การคูณ การหารจำนวนนับ
นางสาวสุพรรษา ธรรมสโรช
ครูธีรพันธ์ ฝั้นเต็ม ครูชำนาญการพิเศษ ร.ร.แจ้ห่มวิทยา ลำปาง
We well check the answer
จำนวนจริง F M B N ขอบคุณ เสถียร วิเชียรสาร.
บทที่ 1 อัตราส่วน.
บทที่ 3 ร้อยละ ร้อยละ หรือ เปอร์เซ็นต์ หมายถึง เศษส่วนหรืออัตราส่วนที่มีจำนวนหลังเป็น 100 เขียนแทนร้อยละ หรือเปอร์เซ็นต์ ด้วยสัญลักษณ์ %
การนับเบื้องต้น Basic counting
บทที่ 8 เมตริกซ์และตัวกำหนด.
จำนวนนับใดๆ ที่หารจำนวนนับที่กำหนดให้ได้ลงตัว เรียกว่า ตัวประกอบของจำนวนนับ จำนวนนับ สามารถเรียกอีกอย่างว่า จำนวนเต็มบวก หรือจำนวนธรรมชาติ ซึ่งเราสามารถนำจำนวนนับเหล่านี้มา.
การหาค่ากำลังสองของเลขที่ลงท้ายด้วย 5
การหาค่ากำลังสองของเลขที่ลงท้ายด้วย 5
การหาค่ากำลังสองของเลขที่ลงท้ายด้วย 5
เรื่อง การบวก การลบ การคูณ และการหาร นายประยุทธ เขื่อนแก้ว
เทคนิคการอินทิเกรต การหาปริพันธ์โดยแยกเศษส่วนย่อย
การจำแนกตัวอักษรออกจากบรรทัดข้อความ
จำนวนทั้งหมด ( Whole Numbers )
สมการกำลังสอง นางพัชรีย์ ลันดา ผู้สร้าง กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
ระบบจำนวนเต็ม โดย นางสาวบุณฑริกา สูนานนท์
ตัวประกอบ. ตัวประกอบ ความหมาย ตัวประกอบของจำนวนนับใด ๆ หมายถึง จำนวนนับที่หารจำนวนนับนั้นได้ลงตัว.
จำนวนเฉพาะ. จำนวนเฉพาะ ความหมาย 3 จำนวนเฉพาะ หมายถึง จำนวนนับที่มากกว่า 1 และมีตัวประกอบเพียงสองตัว คือ 1 และตัวมันเอง 4.
เศษส่วน.
Flowchart รูปแบบ If ซ้อน If ก็คือ การเอา If ไปไว้ใน If ทางฝั่ง True  โดยโครงสร้าง If ซ้อน If นั้นเอาไว้ใช้กับ กรณีตรวจสอบเงื่อนไขที่มากกว่า 2 กรณี เพราะเนื่องจาก.
การแก้สมการพหุนามดีกรีสอง
การดำเนินการบนเมทริกซ์
คุณสมบัติการหารลงตัว
ค33211 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 5
ค33211 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 5
จำนวนเต็มกับการหารลงตัว
ค33211 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 5
การพิจารณาจำนวนเฉพาะ
บทเรียนสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โดยใช้โปรแกรม Microsoft Multipoint
บทที่ 1 ลิมิตของฟังก์ชัน
วิชาคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่6
การพัฒนาสมการไดโอแฟนไทน์กำลังสอง
z  1 ( mod 2 ) ก็ต่อเมื่อ z2  1 ( mod 2 )
นางสาวอารมณ์ อินทร์ภูเมศร์
นางสาวอารมณ์ อินทร์ภูเมศร์
ค21201 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม 1
F M B N สมบัติของจำนวนนับ ตัวคูณร่วมน้อย (ค.ร.น.).
โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ เตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
วงรี ( Ellipse).
ปรีชา เนาว์เย็นผล ศึกษาศาสตร์ มสธ.
ตัวประกอบของจำนวนนับ
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
แบบฝึกหัด จงหาคำตอบที่ดีที่สุด หรือหาค่ากำไรสูงสุด จาก
ค32212 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 4
ครูธีรพันธ์ ฝั้นเต็ม ครูชำนาญการพิเศษ ร.ร.แจ้ห่มวิทยา ลำปาง
Recursive Method.
Set Operations การกระทำระหว่างเซต
สื่อการสอนด้วยโปรมแกรม “Microsoft Multipoint”
วิธีเรียงสับเปลี่ยนและวิธีจัดหมู่
บทที่ 1 จำนวนเชิงซ้อน.
Summations and Mathematical Induction Benchaporn Jantarakongkul
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ตัวประกอบ (Factor) 2 หาร 8 ลงตัว 3 หาร 8 ไม่ลงตัว 4 หาร 8 ลงตัว 2 หาร 8 ลงตัว 3 หาร 8 ไม่ลงตัว 4 หาร 8 ลงตัว 5 หาร 8 ไม่ลงตัว 8 หาร 8 ลงตัว 6 หาร 8 ไม่ลงตัว เราเรียก 2, 4, 8 ว่าเป็นตัวประกอบของ 8 ตัวประกอบของจำนวนนับใด ๆ คือจำนวนนับที่หารจำนวนนับนั้นได้ลงตัว

2 เป็นตัวประกอบของ 4 หรือไม่ เพราะเหตุใด ? 2 เป็นตัวประกอบของ 4 หรือไม่ เพราะเหตุใด ? 3 เป็นตัวประกอบของ 6 หรือไม่ เพราะเหตุใด ? 5 เป็นตัวประกอบของ 9 หรือไม่ เพราะเหตุใด ? 2 ไม่เป็นตัวประกอบของ 5 หรือไม่ เพราะเหตุใด ? 4 เป็นตัวประกอบของ 20 หรือไม่ เพราะเหตุใด ? 7 เป็นตัวประกอบของ 16 หรือไม่ เพราะเหตุใด ?

การหาตัวประกอบทั้งหมดของจำนวนนับ การหาตัวประกอบทั้งหมดของ 18 มีวิธีการหาตามลำดับ ขั้นตอนดังนี้ เริ่มพิจารณาจำนวนนับตั้งแต่ 1,2,3,… ไปเรื่อย ๆ ว่ามีจำนวนใดบ้างที่หาร 18 ได้ลงตัว 1. เขียน 18 ให้อยู่ในรูปของ 18 = 1 x , 18 = 2 x , 18 = 3 x เขียนเช่นนี้ไปเรื่อย ๆ จนถึงตัวสุดท้ายที่ไม่ซ้ำกับจำนวน ใดจำนวนหนึ่งในที่หาไว้ ซึ่งจะได้ตัวประกอบทั้งหมดของ 18 ดังนี้ 18 = 1 x 18 = 2 x 9 = 3 x 6 จำนวนนับตัวต่อไปที่หาร 18 ได้ลงตัว คือ 6 แต่ 6 มีอยู่แล้ว จึงไม่ต้องเขียนต่อไป ดังนั้นตัวประกอบทั้งหมดของ 18 คือ 1, 2 , 3 , 6 , 9 , 18

จงหาตัวประกอบทั้งหมดของ 36 จงหาตัวประกอบทั้งหมดของ 36 วิธีทำ 36 = 1 x 36 36 = 2 x 18 36 = 3 x 12 36 = 4 x 9 36 = 6 x 6 ดังนั้นตัวประกอบทั้งหมดของ 36 คือ 1, 2 , 3 , 4 , 6, 9 , 12 , 18 และ 36

จงหาตัวประกอบทั้งหมดของ 75 จงหาตัวประกอบทั้งหมดของ 75 วิธีทำ 75 = 1 x 75 75 = 3 x 25 75 = 5 x 15 ดังนั้นตัวประกอบทั้งหมดของ 75 คือ 1, 3 , 5 , 15 , 25 และ 75

จำนวนนับใด ๆ เป็นตัวประกอบของตัวเอง น่ารู้ 1 เป็นตัวประกอบของจำนวนนับทุกจำนวน เพราะว่า 1 สามารถหารจำนวนนับทุกจำนวนได้ลงตัว จำนวนนับใด ๆ เป็นตัวประกอบของตัวเอง

จำนวนเฉพาะ (Prime Number) จำนวนนับ ตัวประกอบ จำนวนตัวประกอบ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 1,2 1,3 1,2,4 1,5 1,2,3,6 1,7 1,2,4,8 1,3,9 1,2,5,10 1,11

เราเรียก 2 , 3 , 5 , 7 , 11 ว่าจำนวนเฉพาะ เราเรียก 2 , 3 , 5 , 7 , 11 ว่าจำนวนเฉพาะ จำนวนเฉพาะ คือ จำนวนนับที่มากกว่า 1 และ มีเฉพาะ 1 กับตัวมันเองเท่านั้น เป็นตัวประกอบ

การตรวจสอบจำนวนนับใด ๆ เป็นจำนวนเฉพาะ การตรวจสอบจำนวนนับใด ๆ เป็นจำนวนเฉพาะ โดยใช้ทฤษฎี บทของยุคลิด ดังนี้ 1. รวบรวมจำนวนเฉพาะ c เมื่อ c x c < n 2. นำจำนวนเฉพาะที่รวบรวมไปหาร n ถ้าไม่มี จำนวนเฉพาะตัวใด หาร n ลงตัว แล้ว n จะเป็น จำนวนเฉพาะโดยที่ c เป็นจำนวนเฉพาะ และ n เป็นจำนวนนับ

ตัวอย่าง จงตรวจสอบว่า 113 เป็นจำนวนเฉพาะหรือไม่ วิธีทำ จำนวนเฉพาะ c เมื่อ c x c < 113 คือ 2,3,5,7 จะพบว่าจำนวนเหล่านี้หาร 113 ไม่ลงตัว ดังนั้น 113 เป็นจำนวนเฉพาะ

ตัวประกอบเฉพาะ (Prime factor) จำนวนเฉพาะ พิจารณาตัวประกอบทั้งหมดของ 18 คือ 1, 2, 3, 6, 9 และ 18 2 และ 3 เป็นจำนวนเฉพาะและเป็นตัวประกอบของ 18 เรียก 2 และ 3 เป็นตัวประกอบเฉพาะของ 18

การแยกตัวประกอบ การเขียนจำนวนนับนั้นในรูปการคูณของตัว ประกอบเฉพาะ การแยกตัวประกอบของจำนวนนับใด คือ ประโยคที่แสดง การเขียนจำนวนนับนั้นในรูปการคูณของตัว ประกอบเฉพาะ ตัวอย่าง จงแยกตัวประกอบของ 40 วิธีทำ 40 4 10 2 2 2 5 ดังนั้น 40 = 2 x 2 x 2 x 5

การแยกตัวประกอบโดยเขียนในรูปการคูณ ของตัวประกอบเฉพาะ ตัวอย่าง จงแยกตัวประกอบ ของ 60 วิธีทำ 60 = 2 x 30 = 2 x 2 x 15 = 2 x 2 x 3 x 5 ดังนั้น 60 = 2 x 2 x 3 x 5

การแยกตัวประกอบโดยวิธีหารสั้น ตัวอย่าง จงแยกตัวประกอบ ของ 50 วิธีทำ 2 )50 5 )25 5 ) 5 1 ดังนั้น 50 = 2 x 5 x 5