คำสั่งรับค่าและฟังก์ชันทางคณิตศาสตร์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Suphot Sawattiwong Array ใน C# Suphot Sawattiwong
Advertisements

โครงสร้างของภาษา C ในโปรแกรมที่พัฒนาด้วยภาษา C ทุกโปรแกรมจะมีโครงสร้างการพัฒนาไม่แตกต่างกัน ซึ่งประกอบด้วย 6 ส่วนหลัก ๆ โดยที่แต่ละส่วนจะมีหน้าที่แตกต่างกัน.
Suphot Sawattiwong Function ใน C# Suphot Sawattiwong
ชนิดของข้อมูลในโปรแกรม Interactive C
รายวิชา ง40102 หลักการแก้ปัญหาและการโปรแกรม
โครงสร้างโปรแกรมภาษา C
โดยอาจารย์ศิริพร ศักดิ์บุญญารัตน์ ครูชำนาญการ โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์
การเขียนโปรแกรมด้วยคำสั่งเบื้องต้น
บทที่ 2 ภาษาปาลคาลเบื้องต้น.
ข้อมูลชนิดสตริง String บทที่ 8
บทที่ 7 รีเคอร์ซีฟ ระหว่างการออกแบบเขียนโปรแกรมแบบบนลงล่าง (Top-down Design) จะมีงานย่อย(Subtask) เพื่อแก้ปัญหาในแต่ละเรื่อง และผู้เขียนโปรแกรมต้องการใช้งานย่อยในลักษณะที่เรียกตัวเองขึ้นมาทำงาน.
Introduction to C Programming
ครั้งที่ 8 Function.
WEB APPLICATIONS DEVELOPMENT Chap 11 : การสร้างช่องรับข้อมูล 1.
การรับค่าและแสดงผล.
บทที่ 3 ตอนที่ 1 คำสั่งเงื่อนไขและการตัดสินใจ(p
หลักการโปรแกรม 1 Lecture 3: ตัวแปร, นิพจน์คณิตศาสตร์, การคำนวณทางคณิตศาสตร์,การดำเนินการกับสายอักขระ.
Structure Programming
Structure Programming
LAB # 5 Computer Programming 1 1.
Week 6 ประกาศค่าตัวแปร.
รับและแสดงผลข้อมูล.
โครงสร้างภาษาซี.
ฟังก์ชั่น function.
การเขียนโปรแกรมภาษาจาวาตอนที่ ๓
การสร้าง Random ตัวเลขซ้ำและไม่ซ้ำ การเรียกดูไฟล์ในโฟลเดอร์ Function
การเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ ด้วยภาษาจาวา
บทที่ 3 ตัวดำเนินการ และ นิพจน์
การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์และอัลกอริธึม
บทที่ 11 การเขียนโปรแกรมภาษาซี
บทที่ 3 Class and Object (1) การสร้างและการใช้งานคลาส
บทที่ 1 หลักการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ
ข้อมูลพื้นฐานและตัวดำเนินการ
บทที่ ไลบรารีฟังก์ชัน
หน่วยที่ 1 พื้นฐานภาษา C
การคำนวณทางคณิตศาสตร์ ตัวดำเนินการ
บทที่ 6 เมธอด.
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
ชนิดของข้อมูล ตัวแปร และตัวดำเนินการ
ตัวแปรกับชนิดของข้อมูล
ฟังก์ชันรับข้อมูล ง30212 การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
คณิตศาสตร์ และการจัดรูปแบบ
การรับและพิมพ์ข้อมูลเบื้องต้น
Week 10 การเขียนโปรแกรมเบื้องต้น #2
Week 12 Engineering Problem 2
เสรี ชิโนดม ฟังก์ชัน เสรี ชิโนดม
Week 12 Engineering Problem 2
Computer Programming for Engineers
บทที่ 8 ตัวดำเนินการ และ นิพจน์
2 /* ข้อความนี้เป็นเพียงคำอธิบาย ไม่มีผลต่อขั้นตอนการ ทำงานของโปรแกรม */ /* A simple program to display a line of text */ #include void main ( ) { printf.
วิทยา กรระสี (วท.บ. วิทยาการคอมพิวเตอร์)
ฟังก์ชัน.
การเขียนโปรแกรม ตอนที่ 1 (ต่อ)
Object-Oriented Programming
Overview of C Programming
คำสั่งรับค่า และ แสดงผลค่า. คำสั่งรับ - แสดงผล 1. printf( ) เป็น ฟังก์ชันที่ใช้ในการ แสดงผลข้อมูลที่อยู่ในตัว แปร ค่าคงที่ นิพจน์ออกมา ทางจอภาพ.
โครงสร้างภาษาซี #include <stdio.h> void main() {
คำสั่งเกี่ยวกับการรับ และแสดงผล
คำสั่งแบบมีเงื่อนไข Conditional Statements
หลักการและวิธีการแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
Output of C.
Java Programming Java Structure and Datatype,Variable
พื้นฐานการเขียนโปรแกรมด้วย C#
ฟังก์ชันเกี่ยวกับ คณิตศาสตร์. เนื้อหา คำสั่งรับข้อมูลเข้าจากผู้ใช้ คำสั่งรับข้อมูลเข้าจากผู้ใช้ การเปลี่ยนชนิดข้อมูล การเปลี่ยนชนิดข้อมูล การเรียกใช้งานเมท็อดทาง.
คำสั่งวนซ้ำ.
TECH30201 Object-Oriented Programming
Object-Oriented Programming
การกระทำทางคณิตศาสตร์
การเขียนโปรแกรม (ภาษาซี)
การรับและแสดงผลข้อมูล (Input/Output)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

คำสั่งรับค่าและฟังก์ชันทางคณิตศาสตร์

เนื้อหา คำสั่งรับอินพุทจากผู้ใช้ ตัวดำเนินการทางคณิตศาสตร์ การเปลี่ยนชนิดข้อมูล การเรียกใช้งานเมท็อด เมท็อดในคลาส Math

คำสั่งรับอินพุท ใช้เมท็อด ReadLine ซึ่งอยู่ในคลาส Console ตัวอย่าง: รับข้อมูลจากแป้นพิมพ์จนกว่าผู้ใช้จะกด Enter ส่งค่าทั้งหมดให้โปรแกรมในรูปสตริง ตัวอย่าง: string yourname; yourname = System.Console.ReadLine();

ตัวอย่างโปรแกรม: ReadLine โปรแกรมด้านล่างจะให้ผู้ใช้ป้อนชื่อและกล่าวคำทักทาย using System; class HelloYou { static void Main() string name; Console.Write("What is your name: "); name = Console.ReadLine(); Console.WriteLine("Hello, {0}", name); }

การเปลี่ยนสตริงให้เป็นตัวเลข เป็นที่ทราบว่าเมท็อด Console.ReadLine คืนค่าเป็นสตริง ตัวเลขที่อยู่ในรูปสตริงไม่สามารถนำไปใช้ในการคำนวณได้โดยตรง ชนิดข้อมูลตัวเลขทุกชนิดมีเมท็อด Parse ซึ่งทำหน้าที่เปลี่ยนข้อมูลสตริงให้เป็นชนิดตัวเลขตามแบบข้อมูลนั้น ๆ string s = "12"; int x = s+1; // Error! string s = Console.ReadLine(); int x = int.Parse(s); double y = double.Parse(s);

ตัวอย่าง: คำนวนพื้นที่สี่เหลี่ยม using System; class AreaCalculation { static void Main() int width, height, area; string input; Console.Write("Enter width: "); input = Console.ReadLine(); width = int.Parse(input); Console.Write("Enter height: "); height = int.Parse(input); area = width * height; Console.WriteLine("Area = {0}x{1} = {2}", width, height, area); } Obtaining "width" Obtaining "height" area = width x height height width

แบบฝึกหัด: แก้สมการ เขียนโปรแกรมเพื่ออ่านค่า x+y และ xy, จากนั้นให้ตอบว่าค่าของ x และ y คือเท่าใด เริ่มต้นจากการคิดขั้นตอนวิธี และเขียน pseudo-code นำ pseudo-code มาเขียนเป็นโปรแกรม

การเปลี่ยนชนิดข้อมูลตัวเลข double float long int short sbyte ulong uint ushort byte char ละเอียดมาก ละเอียดน้อย การกำหนดค่าให้ตัวแปรที่เก็บข้อมูลได้ละเอียดมากกว่า ทำได้ทันที เนื่องจากข้อมูลไม่มีการสูญหาย C# บังคับให้ระบุชนิดข้อมูลให้ชัดเจนสำหรับการกำหนดค่าให้ตัวแปรที่ละเอียดน้อยกว่า int i = 50; double d = i; // OK ระบุชัดเจนว่าต้องการเปลี่ยนค่า double เป็น long double d = 5000.78; long x = d; // ERROR!!! long x = (long) d; // OK

ตัวดำเนินการแบบ "modify-and-assign" ตัวอย่าง รูปแบบคำสั่ง ความหมาย var += expression เพิ่มค่าใน var เป็นจำนวนเท่ากับ expression var -= expression ลดค่าใน var เป็นจำนวนเท่ากับ expression var *= expression คูณค่า var ด้วย expression เก็บผลลัพธ์ใน var var /= expression หารค่า var ด้วย expression เก็บผลลัพธ์ใน var sum += x; // ให้ผลเหมือนกับ sum = sum + x prod *= 2.5; // ให้ผลเหมือนกับ prod = prod * 2.5 y -= 3+a; // ให้ผลเหมือนกับ y = y – (3+a)

ตัวดำเนินการสำหรับเพิ่ม/ลดค่า ตัวดำเนินการ ++ และ – ใช้สำหรับเพิ่มและลดค่าให้ตัวแปร ทีละ 1 ตัวอย่าง: คำสั่ง ผลลัพธ์ x++ เพิ่มค่า x ขึ้น 1 x-- ลดค่า x ลง 1 int n = 0; n++; // ให้ผลเหมือนกับ n = n+1, or n += 1 n++; // n มีค่าเท่ากับ 2 n--; // n มีค่าเท่ากับ 1

การเรียกใช้งานเมท็อด คลาสหลายคลาสมีเมท็อดชนิดสแตติก (static) ที่สามารถเรียกใช้ผ่านคลาสโดยตรงได้ทันที เรียกเมท็อด methodName ผ่านคลาส className ที่อยู่ในเนมสเปส namespaceName หากเนมสเปส namespaceName ถูกระบุผ่านคำสั่ง using ไว้ก่อนหน้านี้ การเรียกเมท็อดไม่จำเป็นต้องระบุเนมสเปส เมท็อดที่คุ้นเคยกันได้แก่ System.Console.WriteLine() และ System.Console.ReadLine() namespaceName.className.methodName(optional-arguments) using namespaceName; : className.methodName(optional-arguments)

คลาส Math คลาส Math ในเนมสเปส System ได้เตรียมเมท็อดและค่าคงที่ไว้หลายตัวสำหรับการคำนวณทางคณิตศาสตร์ที่ซับซ้อนขึ้น ตัวอย่าง (บางส่วน): เมท็อด/ค่าคงที่ ค่าที่คืนกลับมา ตัวอย่างการใช้งาน ผลลัพธ์ PI ค่า  Math.PI 3.1415927 Max(x,y) ค่าที่มากกว่าระหว่าง x และ y Math.Max(1,2) 2 Abs(x) ค่าสัมบูรณ์ของ x Math.Abs(-1.3) 1.3 Sqrt(x) รากที่สองของ x Math.Sqrt(4.0) 2.0 Round(x) ค่า x ที่ปัดเป็นจำนวนเต็ม Math.Round(0.8) 1 Pow(x,y) ค่า x ยกกำลัง y Math.Pow(3,2) 9.0 Log(x) ล็อกฐานธรรมชาติของ x Math.Log(10) 2.302585 Ceiling(x) ค่า x ที่ปัดเศษขึ้น Math.Ceiling(4.1) 5 Cos(x) โคซายน์ของ x เรเดียน Math.Cos(Math.PI) -1