7.6 กราฟน้ำไหล (Hydrograph) 1. ความหมาย - กราฟน้ำไหลคือ กราฟที่แสดงความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณน้ำท่า (Q) หรือควาสูงของน้ำในลำธาร (H) กับเวลา (T) - เป็นคุณสมบัติของลักษณะการไหลของน้ำหนึ่ง ๆ ซึ่งเกิดมาจากลักษณะพื้นที่ลุ่มน้ำ (ภูมิประเทศ) ลักษณะฝน และลักษณะการใช้ทีดินของมนุษย์ - เปลี่ยนแปลงได้ง่ายมาก ตามลักษณะการใช้ที่ดินของมนุษย์
2. ลักษณะของกราฟน้ำไหล 2.1 ส่วนขึ้น (Rising Limb) - เกิดมาจากการตกของฝน หรือการระบายน้ำจากที่อื่นมาผ่านจุดวัด ได้รับอิทธิพลของน้ำไหลบ่าหน้าดิน ส่วนขึ้นที่เพิ่มอย่างรวดเร็ว ….เป็นกราฟน้ำท่าที่ไม่ดี 2.2 ส่วนยอด (Peak or Crest Segment) - เป็นส่วนที่มีค่าสูงสุดของการไหล เป็นรูปตัว U หัวกลับ ที่จะมีส่วนสร้างปัญหาให้กับสิ่งแวดล้อม เช่น อุทกภัย ส่วนยอดที่ต่ำและมีฐานกว้างจะเป็นกราฟน้ำไหลที่ดีจะเป็นรูปตัว U หัวกลับ 2.3 ส่วนลด (Recession or Deletion Curve) - เป็นส่วนที่แสดงความสามารถของการกักเก็บน้ำไว้ในดิน ยิ่งมีความลาดชันที่น้อย ยิ่งมีช่วงระยะเวลาที่มีน้ำไหลที่ยาวนานมากยิ่งขื้น
Height (m) or Discharge (m3) peak Point of inflection Height (m) or Discharge (m3) Rising curve Recession curve Surface runoff Time (Hrs) No surface runoff ภาพแสดง Storm hydrograph ส่วนประกอบของกราฟน้ำไหล
3. องค์ประกอบของการไหลของน้ำจากกราฟน้ำท่า Surfaceflow (SF) Lateral Flow (LF) or Interflow (IF) Direct Flow Hydrograph Base Flow Groundwater flow
4. คำสำคัญเกี่ยวข้องกับกราฟน้ำไหล 4 4. คำสำคัญเกี่ยวข้องกับกราฟน้ำไหล 4.1 Point of Inflection (จุดเปลี่ยนโค้งคว่ำเป็นโค้งหงาย) ซึ่งจุดที่นักอุทกวิทยา กำหนดว่า นับตั้งแต่เวลา ณ จุดนี้เป็นต้นไป การเกิดน้ำไหลบ่าหน้าดินจากการตกของฝนครั้งนั้น ๆ สิ้นสุดลงแล้ว 4.2 Lag time … มี 2 ความหมาย 1) ช่วงเวลาตั้งแต่ฝนเริ่มตกจนกระทั่งน้ำท่าเริ่มเพิ่มขึ้น 2) ช่วงเวลาจากจุดกึ่งกลางของฝนตกจนถึงจุดสูงสุด 4.3 Time of Concentration (TC) หมายถึงระยะเวลาที่น้ำท่าไหลมาจากจุดที่ไกลที่สุดของลุ่มน้ำมาผ่านจุดปากแม่น้ำ (outlet) Tc ยิ่งนาน ยิ่งดี - ฝนตกยาวนานกว่า Tc จะประสบปัญหาอุทกภัยรุนแรง Lag time = 0.6 TC