ทรานสโพสเมตริกซ์ (Transpose of Matrix)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ระบบสมการเชิงเส้น F M B N เสถียร วิเชียรสาร.
Advertisements

ค33212 คณิตศาสตร์คอมพิวเตอร์ 6
ระบบจำนวนจริง(Real Number)
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ เรื่อง จำนวนเชิงซ้อน
อสมการ 1.1 อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
DSP 4 The z-transform การแปลงแซด
ข้อมูลชนิดอาร์เรย์ Array (บทที่ 5)
บทที่ 12 การวิเคราะห์การถดถอย
ชื่อสมบัติของการเท่ากัน
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สาระที่ 4 พีชคณิต.
แบบฝึกหัด ประกอบการเรียนการสอน วิชา คณิตศาสตร์วิศวกรรมศาสตร์
โจทย์ 1. x + y + 2z + 3w = 13 x - 2y + z + w = 8 3x + y + z - w = 1
Lecture 11: อาร์เรย์แบบหลายมิติ
ทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น โดย ครูภรเลิศ เนตรสว่าง โรงเรียนเทพศิรินทร์
จงหาระยะห่างของจุดต่อไปนี้ 1. จุด 0 ไปยัง จุด 0 ไปยัง 2
อสมการ.
การประยุกต์สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
อสมการ เสถียร วิเชียรสาร ขอบคุณ.
บทที่ 2 สัดส่วน สัดส่วน หมายถึง ประโยคที่แสดงการเท่ากันของอัตราส่วนสองอัตราส่วน.
เส้นตรงและระนาบในสามมิติ (Lines and Planes in Space)
ปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ เรื่อง ระบบสมการหลายตัวแปร
บทที่ 8 เมตริกซ์และตัวกำหนด.
สมการเชิงอนุพันธ์อย่างง่าย
จำนวนนับใดๆ ที่หารจำนวนนับที่กำหนดให้ได้ลงตัว เรียกว่า ตัวประกอบของจำนวนนับ จำนวนนับ สามารถเรียกอีกอย่างว่า จำนวนเต็มบวก หรือจำนวนธรรมชาติ ซึ่งเราสามารถนำจำนวนนับเหล่านี้มา.
เวกเตอร์ (Vectors) 1.1 สเกลาร์และเวกเตอร์
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โรงเรียนอัสสัมชัญอุบลราชธานี
A.5 Solving Equations การแก้สมการ.
การเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ ด้วยภาษาจาวา
คณิตศาสตร์ แสนสนุก.
จำนวนทั้งหมด ( Whole Numbers )
Matrix and Determinant
อสมการ (Inequalities)
ระบบจำนวนเต็ม โดย นางสาวบุณฑริกา สูนานนท์
แฟกทอเรียล (Factortial)
ครูฉัตร์มงคล สนพลาย. เมตริกซ์ (Matrices) เมตริกซ์ คือ การจัดเรียง จำนวนให้อยู่ในรูป สี่เหลี่ยมผืนผ้า ซึ่งประกอบด้วย แถว (Row) และ หลัก (Column)
ครูฉัตร์มงคล สนพลาย.
การแก้สมการพหุนามดีกรีสอง
ค33212 คณิตศาสตร์คอมพิวเตอร์ 6
การดำเนินการบนเมทริกซ์
ตัวผกผันการคูณของเมทริกซ์
ค33212 คณิตศาสตร์คอมพิวเตอร์ 6
คุณสมบัติการหารลงตัว
ค33211 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 5
ค33211 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 5
ค33212 คณิตศาสตร์คอมพิวเตอร์ 6
ค33212 คณิตศาสตร์คอมพิวเตอร์ 6
อินเวอร์สของความสัมพันธ์
โดย : อาจารย์พงศกร ละฟู่ สังกัดระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
สัปดาห์ที่ 7 การแปลงลาปลาซ The Laplace Transform.
สัปดาห์ที่ 15 โครงข่ายสองพอร์ท Two-Port Networks (Part I)
วิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน รหัสวิชา ค ครูผู้สอน นางสาวสมใจ จันทรงกรด
ค21201 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม 1
F M B N สมบัติของจำนวนนับ ตัวคูณร่วมน้อย (ค.ร.น.).
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
พีระมิด.
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
วงรี ( Ellipse).
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
แบบฝึกหัด จงหาคำตอบที่ดีที่สุด หรือหาค่ากำไรสูงสุด จาก
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
เมทริกซ์ (Matrix) Pisit Nakjai.
สื่อการสอนด้วยโปรมแกรม “Microsoft Multipoint”
บทที่ 1 จำนวนเชิงซ้อน.
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
โครงสร้างข้อมูลแบบ สแตก (stack)
ทบทวนการแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว สอนโดย ครูประทุมพร ศรีวัฒนกูล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ทรานสโพสเมตริกซ์ (Transpose of Matrix) ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเมตริกซ์ การดำเนินการกับเมตริกซ์ ทรานสโพสเมตริกซ์ (Transpose of Matrix) ดีเทอร์มิแนนท์ (Determinant) อินเวอร์สเมตริกซ์ (Inverse Matrix) การแก้สมการเชิงเส้นด้วยเมตริกซ์

Matrix เมตริกซ์ คือชุดข้อมูลที่จัดเก็บตามแนว แถว (Row) และแนวหลัก (Column) ตัวอย่างเช่น มิติ (Dimension) ของเมตริกซ์ คือจำนวนแถว และหลักทั้งหมดของเมตริกซ์ เช่น 2x3, 1x3 เมตริกซ์จัตุรัส (Square Matrix) เมตริกซ์ที่มี มิติจำนวนแถวเท่ากับจำนวนหลัก n x n

การดำเนินการกับเมตริกซ์ การคูณเมตริกซ์ด้วยค่าคงที่ การบวกและการลบของเมตริกซ์

การดำเนินการกับเมตริกซ์ (ต่อ) การคูณเมตริกซ์

การดำเนินการกับเมตริกซ์ (ต่อ) การคูณเมตริกซ์

การดำเนินการกับเมตริกซ์ (ต่อ) การคูณเมตริกซ์

การดำเนินการกับเมตริกซ์ (ต่อ) การคูณเมตริกซ์

การทรานสโพสของเมตริกซ์ (Transpose of Matrix) ทรานสโพสของเมตริกซ์ A เขียนแทนด้วย At เป็นนำค่าในแนวแถวไปอยู่ที่คอลัมน์ ตัวอย่าง เช่น เมตริกซ์สมมาตร คือเมตริกซ์ที่ At = A เช่น

การทรานสโพสของเมตริกซ์ (Transpose of Matrix) ทรานสโพสของเมตริกซ์ A เขียนแทนด้วย At เป็นนำค่าในแนวแถวไปอยู่ที่คอลัมน์ ตัวอย่าง เช่น เมตริกซ์สมมาตร คือเมตริกซ์ที่ At = A เช่น

ดีเทอร์มิแนนท์ (Determinant) สัญลักษณ์ที่ใช้แทนดีเทอร์มิแนนท์ของเมตริกซ์ A คือ det(A) หรือ | A | ต้องเป็นจัตุรัสเมตริกซ์เท่านั้นจึงหา det(A) ได้ ถ้าเมตริกซ์ A มี det(A) = 0 เรียกว่าเมตริกซ์เอกฐาน (Singular Matrix) ถ้าเมตริกซ์ A มี det(A)  0 เรียกว่าเมตริกซ์ไม่เอกฐาน (Non-singular Matrix) เมตริกซ์มิติ 1 x 1 ถ้า A = [a] , a เป็นจานวนจริง แล้ว det(A) = a เมตริกซ์มิติ 2 x 2 ถ้า A = โดย a, b, c และ d เป็นจำนวนจริง แล้ว det(A) = ad – bc

ดีเทอร์มิแนนท์ (ต่อ) เมตริกซ์มิติ n x n เช่น 3 x 3 วิธีการเติมหลัก ตัวอย่าง A = เติม 2 หลักแรกดังนี้ : det(A) = 1(5)(9) + 2(6)(7) + 3(4)(8) - 7(5)(3) - 8(6)(1) - 9(4)(2) det(A) = 45 + 84 + 96 – 105 – 48 – 72 = 0

ดีเทอร์มิแนนท์ (ต่อ) เมตริกซ์มิติ n x n เช่น 3 x 3 วิธีการเติมหลัก ตัวอย่าง A = เติม 2 หลักแรกดังนี้ : det(A) = 1(5)(9) + 2(6)(7) + 3(4)(8) - 7(5)(3) - 8(6)(1) - 9(4)(2) det(A) = 45 + 84 + 96 – 105 – 48 – 72 = 0

ดีเทอร์มิแนนท์ (ต่อ) 2. วิธีโคแฟคเตอร์ 2. วิธีโคแฟคเตอร์ -ไมเนอร์ (Minor) ค่าของสมาชิกที่แถว i หลัก j ซึ่งเท่ากับดีเทอร์มิแนนท์ของเมตริกซ์ที่เกิดจากการตัดแถว i และหลัก j - โคแฟกเตอร์ (Cofactor) เครื่องหมาย +/-ว่าของไมเนอร์ หาจาก (-1)i+j ตัวอย่าง A =

ดีเทอร์มิแนนท์ (ต่อ) การหาค่า det(A) ได้ดังนี้ det(A) = c11a11 + c12a12 + c13a13 det(A) = (–3)1 + (6)2 + (–3)3 = –3 + 12 – 9 = 0 หรือ det(A) = c21a21 + c22a22 + c23a23 = (6)4 + (–12)5 + (6)6 = 24 – 60 + 36 = 0 หรือ det(A) = c31a31 + c32a32 + c33a33 = (–3)7 + (6)8 + (–3)9 = –21 + 48 – 27 = 0 det(A) นั้น ไม่ว่าจะใช้โคแฟคเตอร์จากแถวใดหรือหลักใดจะได้ค่าเท่ากัน

อินเวอร์สของเมตริกซ์ (Inverse Matrix) ตัวผกผันการคูณของเมตริกซ์ A คือ A-1 A A-1 = I = A-1A , I เมตริกซ์เอกลักษณ์ (Identity Matrix) - อินเวอร์สของเมตริกซ์มิติ 1 x 1 A = [3] จะได้ A-1 = อินเวอร์สของเมตริกซ์มิติ 2 x 2 A = แล้ว A-1 =

อินเวอร์สของเมตริกซ์ (ต่อ) - อินเวอร์สของเมตริกซ์มิติ n x n (n  3) หาอินเวอร์สโดยใช้แอดจอนท์เมตริกซ์ (Adj : Adjoint Matrix) กำหนดให้ cij เป็นโคแฟกเตอร์ที่ i และ j จะได้ Adj (A) = [cij]tn x n อินเวอร์สของเมตริกซ์ A-1 =

อินเวอร์สของเมตริกซ์ (ต่อ) กำหนดให้ A = หาโคแฟกเตอร์ทุกค่า หา det (A) = 1 (2) + 2 (2) + 3 (– 3) = 2 + 4 – 9 = – 3 เมตริกซ์ของโคแฟกเตอร์ =

อินเวอร์สของเมตริกซ์ (ต่อ) แอดจอยท์เมตริกซ์ = ดังนั้น A-1 = ** การหาอินเวอร์สเมตริกซ์ ยังมีอีกหลายวิธีสามารถศึกษาเพิ่มเติมได้จาก seashore.buu.ac.th/~phong

การแก้สมการเชิงเส้นด้วยเมตริกซ์ จากระบบสมการ 2x – y + z = 3 x + y + z = 6 3x + 2y – 2z = 1 เขียนเป็นระบบเมตริกซ์ได้ดังนี้ : เมตริกซ์สัมประสิทธิ์ : A = เมตริกซ์ของตัวแปร : X = เมตริกซ์ของค่าคงที่ : B =

การแก้สมการเชิงเส้นด้วยเมตริกซ์(ต่อ) จากระบบสมการของเมตริกซ์ AX = B หาอิน เวอร์ส A-1 แล้วนำมาคูณตลอดจะได้ A-1(AX) = A-1B นั่นคือ (A-1A)X = A-1B IX = A-1B หรือ X = A-1B ซึ่งก็คือคำตอบ

การแก้สมการเชิงเส้นด้วยเมตริกซ์(ต่อ) การบ้าน กำหนดให้ A เป็นเมตริกซ์ดังตัวอย่างข้างต้น และสามารถหา A-1 = จงหาค่าของ x, y, z

THE END phong@buu.ac.th