หน่วยที่ 5 การสร้างเครื่องมือวัดคุณลักษณะอันพึงประสงค์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
กระบวนการสร้างแบบทดสอบ
Advertisements

วัดตัวแปร(ตาม)การวิจัยในชั้นเรียน
การสร้างแบบทดสอบ อาจารย์ ปรีชา เครือวรรณ อาจารย์ สมพงษ์ พันธุรัตน์
สถิติ และ การวิเคราะห์ข้อมูล
กระบวนการสร้างแบบทดสอบ อาจารย์พิมพ์ทอง สังสุทธิพงศ์
รศ. ดร. สมศักดิ์ คงเที่ยง
อาจารย์สมพงษ์ พันธุรัตน์
การวัดพฤติกรรมด้านจิตพิสัย
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
รายงานการวิจัย.
ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2544
การสร้างและการหาคุณภาพเครื่องมือวิจัย
การวิเคราะห์คุณภาพแบบทดสอบ (Test Quality Analysis)
หลักการพัฒนา หลักสูตร
ความตรง (validity) ความตรงตามเนื้อหา (content validity)
วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล
Quality Testing of Tests การหาคุณภาพของแบบทดสอบ
ศึกษาความพึงพอใจของผู้บริหารและครูต่อสภาพแวดล้อมของสถานศึกษา อำเภอสนามชัยเขต จังหวัดฉะเชิงเทรา โดย เสมา แสนยากร.
คุณภาพการประเมินนักเรียนและสถานศึกษา เพื่อรับรางวัลพระราชทาน
การติดตาม และประเมินโครงการ.
การประเมินผลการเรียน
4. Research tool and quality testing
การวัดพฤติกรรมทางด้านทักษะพิสัย
วิธีการและเครื่องมือ ที่ใช้ในการวัดผล
การวัดพฤติกรรมด้านจิตพิสัย
บทที่ 6 สถิติที่ใช้ในการ วัดผลการศึกษา. การวิเคราะห์ข้อสอบ ก่อนนำไปใช้  จุดมุ่งหมาย เพื่อนำผลการวิเคราะห์ ไปเป็นข้อมูลในการ ปรับปรุงแก้ไขข้อสอบ ก่อนที่จะนำข้อสอบไปใช้
โครงร่างการวิจัย (Research Proposal)
วิธีการและเครื่องมือ ที่ใช้ในการวัดผล
การเขียนรายงานการใช้เอกสารประกอบการสอน
การวิเคราะห์ข้อสอบ Item analysis.
กระบวนการวิจัยเชิงประเมิน
การวัดและประเมินผลตามสภาพจริง
การวัดและประเมินพัฒนาการของผู้เรียน
บทที่ 7 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยและ การเก็บรวบรวมข้อมูล
หน่วย การเรียนรู้.
การวิเคราะห์ข้อสอบ ดร.ปรัชญนันท์ นิลสุข
แบบสอบถาม ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป (ด้านสังคมเศรษฐกิจ) ส่วนที่ 2 ความรู้
การตรวจสอบความเชื่อมั่น
วิธีการตรวจสอบ Content Validity
Criterion-related Validity
คุณภาพเครื่องมือวิจัย
บทที่ 7 การวิเคราะห์ความเชื่อถือได้
บทที่ 6 Selection กระบวนการพิจารณาคนจำนวนมากให้ เหลือจำนวนเท่าที่องค์การต้องการ Negative Process.
แบบสอบถาม แบบทดสอบ แบบสัมภาษณ์ จิตพิสัย พุทธิพิสัย เครื่องมือที่ใช้
แบบทดสอบอิงกลุ่มอิงเกณฑ์
การสร้างข้อสอบ ตามแนวการวัดใน PISA
การเขียนรายงานการวิจัย
หน่วยที่ 1 ความหมายและความสำคัญของเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัยตามแนวทางการทดสอบระดับนานาชาติ (PISA)
การเขียนเกณฑ์การประเมิน (Rubric)
การตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือ วัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัย
การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ สำนักทดสอบทางการศึกษา สพฐ.
สวัสดี ครับ เพื่อนพี่น้องผู้ทรงคุณวุฒิทุกท่าน.
การสร้างและการหาคุณภาพเครื่องมือวิจัย
สื่อประกอบการสอน รายวิชา วิธีวิจัยวิทยาทางนิเทศศาสตร์ COMM (3-0- 6)____________________________________________________________________________________________.
การรายงานกิจกรรมการพัฒนาคุณลักษณะอันพึงประสงค์
การประเมินตามสภาพจริง ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เรวดี กระโหมวงศ์
การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือวิจัย
การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือวิจัย
บทที่ 3 วิธีการดำเนินการวิจัย
การตรวจสอบคุณภาพ ของเครื่องมือการวิจัย
การวิเคราะห์คุณภาพแบบทดสอบ (Test Quality Analysis)
ผลงานวิจัยเรื่อง “ การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาการขาย 1 เรื่อง ประเภทของการขาย โดยใช้แบบฝึกทักษะ ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1.
เครื่องมือที่ใช้ในการวัดผลการศึกษา
ผศ.สุโกศล วโนทยาพิทักษ์
ผศ.ดร.ภัทรวรรธน์ จีรพัฒน์ธนธร
แบบทดสอบ คือ... ชุดของข้อคำถามที่สร้าง ขึ้นเพื่อใช้วัดความรู้ สติปัญญา ความถนัด และ บุคลิกภาพของบุคคล โดย บุคคลนั้นจะตอบสนองโดย การแสดงพฤติกรรมใน รูปแบบต่างๆ.
การ ประเมินผ ล. Outline ความสัมพันธ์ระหว่าง การประเมินกับ วัตถุประสงค์ ความสัมพันธ์ระหว่าง การประเมินกับ วัตถุประสงค์ หลักการทั่วไปของการ ประเมิน หลักการทั่วไปของการ.
การตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือ (Test Quality Analysis)
การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
ใบสำเนางานนำเสนอ:

หน่วยที่ 5 การสร้างเครื่องมือวัดคุณลักษณะอันพึงประสงค์ การพัฒนาศักยภาพด้านการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ (Desirable characteristic assessment) สำนักทดสอบทางการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน หน่วยที่ 5 การสร้างเครื่องมือวัดคุณลักษณะอันพึงประสงค์ 5.2 การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือวัดคุณลักษณะอันพึงประสงค์

คุณภาพของแบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ 1. ความตรง/ความเที่ยงตรง (validity) 2. ความเที่ยง/เชื่อมั่น (reliability) 3. อำนาจจำแนก (discrimination )

1. ความตรง/เที่ยงตรง (Validity) ความถูกต้องแม่นยำของเครื่องมือในการวัด สิ่งที่ต้องการจะวัด ประเภทของความเที่ยงตรง 1. ความตรงตามเนื้อหา (Content Validity) เนื้อหาของเครื่องมือ หรือเนื้อหาของข้อคำถามวัดได้ตรงตามประเด็นหรือตัวชี้วัดที่ต้องการวัดหรือไม่? 2. ความตรงเชิงโครงสร้าง (Construct Validity) เครื่องมือนั้นสามารถวัดได้ครอบคลุมขอบเขต ความหมาย หรือครบตามคุณลักษณะประจำตามทฤษฎีที่ใช้สร้างเครื่องมือหรือไม่?

1. ความตรง/เที่ยงตรง (Validity) ประเภทของความตรง (ต่อ) 3. ความตรงตามเกณฑ์สัมพันธ์ (Criterion-related Validity) เครื่องมือวัดได้ตรงตามสภาพที่ต้องการวัด โดยพิจารณาจากเกณฑ์ที่เกี่ยวข้องว่าเครื่องมือนั้นจะใช้ทำนายพฤติกรรมของบุคคลในสภาพเฉพาะเจาะจงตามต้องการหรือไม่? จำแนกได้ 2 ชนิด คือ 3.1 ความตรงร่วมสมัยหรือตามสภาพที่เป็นจริง (Concurrent Validity) สอดคล้องกับสภาพความเป็นจริงในปัจจุบัน 3.2 ความตรงเชิงทำนาย (Predictive Validity) สอดคล้องกับสภาพความเป็นจริง หรือสภาพความสำเร็จในอนาคต

การตรวจสอบความตรงเชิงเนื้อหา (Content validity) การหาค่าดัชนีความสอดคล้องระหว่างข้อคำถามกับลักษณะเฉพาะกลุ่มพฤติกรรม (IOC) การหาค่าดัชนีความเหมาะสมระหว่างข้อคำถามลักษณะเฉพาะกลุ่มพฤติกรรม การหาค่าอัตราส่วนความตรงเชิงเนื้อหา (Content Validity ratio: CVR)

การตรวจสอบความตรงเชิงโครงสร้าง (Construct validity) การตรวจสอบความสอดคล้องระหว่างคะแนนเป็นรายข้อกับคะแนนทั้งฉบับ ใช้วิธีกลุ่มที่รู้จัก (Known Group Technique) ใช้การวิเคราะห์องค์ประกอบ (Factor Analysis)

2. ความเที่ยง/เชื่อมั่น (Reliability) ความคงที่หรือความคงเส้นคงวาของผลที่ได้จากการวัด วิธีการประมาณค่าความเที่ยง การสอบซ้ำ (Test-retest Method) การใช้เครื่องมือวัดที่คู่ขนานกัน (Parallel form Method) การหาความสอดคล้องภายในของเครื่องมือ (Coefficient of Internal Consistency)

3. อำนาจจำแนก (Discrimination) ความสามารถของข้อสอบแต่ละข้อในการจำแนกคนที่อยู่ในกลุ่มเก่งออกจากคนที่อยู่ในกลุ่มอ่อนได้ วิธีการประมาณค่า การตรวจสอบความสอดคล้องระหว่างคะแนนเป็นรายข้อกับคะแนนรวมจากข้อที่เหลือทั้งฉบับ 6.3.2 หาค่าอัตราส่วนวิกฤติ t เป็นรายข้อ

เครื่องมือประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ การตรวจสอบคุณภาพ เครื่องมือประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ เครื่องมือ ความตรง ความเที่ยง ความยาก อำนาจจำแนก มาตรประมาณค่า แบบทดสอบ แบบสังเกต แบบสัมภาษณ์           9

วิธีการหาคุณภาพของเครื่องมือแต่ละชนิด  แบบทดสอบ โดยทั่วไปจะตรวจสอบความตรงตามเนื้อหา ความตรงตามเกณฑ์สัมพันธ์ และตรวจสอบความเที่ยงแบบความคงที่ภายใน  แบบสอบถาม โดยทั่วไปจะตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาเป็นหลัก และอาจมีการตรวจสอบความเที่ยง แบบคงที่ภายใน เฉพาะกรณีที่ข้อความทั้งชุดมุ่งวัดในสิ่งเดียวกัน หรือมีความเป็นเนื้อเดียวกัน  แบบสัมภาษณ์ โดยทั่วไปจะเน้นความตรงตามเนื้อหาเป็นหลัก

วิธีการหาคุณภาพของเครื่องมือแต่ละชนิด  แบบสังเกตและแบบบันทึก นอกจากจะตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาแล้ว ก็ควรตรวจสอบความเที่ยงระหว่างผู้สังเกต (inter-rater reliability) ด้วย ซึ่งก็คือความสอดคล้องระหว่างผลการสังเกตของผู้สังเกตตั้งแต่ 2 คนขึ้นไป ผลการสังเกตที่สอดคล้องกัน ย่อมแสดงถึงความชัดเจน และความเป็นปรนัยของข้อความในแบบสังเกต/แบบบันทึก  แบบวัดทางคุณลักษณะจิตวิทยา เช่น แบบวัดบุคลิกภาพ แบบวัดทัศนคติ แบบวัดความซื่อสัตย์ จะเน้นความตรงตามโครงสร้าง ความเที่ยงแบบวัดซ้ำ และความเที่ยงแบบความคงที่ภายใน

สวัสดี