การจัดการความรู้ (Knowledge Management)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
CoPsป้องกันและดูแลแผลกดทับ
Advertisements

โครงการพัฒนาทักษะการเรียนรู้แบบบูรณาการ
Knowledge Management (KM)
จัดการความรู้/มุมมองแนวคิด CoP
การประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ครั้งที่ 1 (Care & Share Meeting No
ระบบการประเมินเพื่อพัฒนาผลการปฏิบัติงาน บุคลากรสายสนับสนุน
สามารถ ศรีวิริยาภรณ์ ศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีการสหกรณ์ที่ 7
การจัดการความรู้สู่การเป็น องค์กรแห่งการเรียนรู้
หลักพื้นฐานในการวางแผนโดยงบประมาณ
การจัดการความรู้...สู่ คณะศึกษาศาสตร์ ม.บูรพา
บทบาทของนักวิจัยไทย ต่อ
การจัดการความรู้ (KNOWLEDGE MANAGEMENT: KM)
“แสดงความมุ่งมั่น แบ่งปันการเรียนรู้”
Session 2 “ใช้เรื่องเล่า พาเข้าหลักคิด”
Session 4 “มีเป้าหมาย แล้วต้องเดิน ต้องบิน”
“ตั้งโจทย์ตั้งเป้า เข้าถึงหลักชัย” คิดเชิงบุก (Proactive Thinking)
“แนวปฏิบัติจัดการความรู้” (The Practices of Knowledge Management)
กิจกรรมถอดสกัดความรู้
การศึกษาดูงานเพื่อประยุกต์ใช้ในแผนยุทธศาสตร์
ด้วยเกล้าด้วยกระหม่อมขอเดชะ ข้าพระพุทธเจ้า รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์
KM การจัดการความรู้ พยาบาล ดร. ยุวดี เกตสัมพันธ์
การประชุมใหญ่ คณาจารย์และบุคคลากร คณะบริหารธุรกิจ ประจำปีการศึกษา 2554
บทเรียนบาง ประการ จาก ประสบการณ์ การส่งเสริมการ เรียนรู้ และจัดการ ความรู้
มีหน้าที่เชื่อมโยงผู้คน/หน่วยงานเข้าหากัน
การพัฒนาทักษะการจดบันทึก เพื่อต่อยอดความรู้สู่การปฏิบัติ
(Knowledge Management : A Tool for Strategic Success)
“Knowledge Management in Health Care”
Knowledge Management (KM)
“โรงเรียนกับแนวคิดการสร้างชุมชนแห่งการเรียนรู้”
Learning Organization
การบรรยาย หัวข้อ “KM : เครื่องมือพัฒนาทีมงาน และองค์การ”
การจัดการความรู้เพื่อยกระดับมาตรฐานในการปฏิบัติงาน
ดร.กะปุ๋ม กล่าวถึง ในมุมมองของคนเชียร์ให้คนทำวิจัยจากงานประจำ (R2R facilitator) ทำอย่างไรคนที่ทำงาน R2R ในระบบสุขภาพจึงจะมีความสุข และไม่คิดว่าเป็นภาระ.
สร้างพลังเครือข่าย R2R
เรียนรู้ จาก VDO ของ KMI
บันทึกจากการฟังการบรรยายเรื่อง
LO KM สร้างความรู้ใหม่ พัฒนางาน พัฒนาคน
องค์กรแห่งการเรียนรู้
โรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน (รนสช.)
(Knowledge Management : KM)
ถอดรหัส Nanoka : ภาวะผู้นำและการประเมินแนวใหม่
การจัดการความรู้ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
Communities of Practice (CoP)
การจัดการความรู้ มหาวิทยาลัยรังสิต
กรณีศึกษา Gotoknow.org การจัดการความรู้ด้วย Weblog
เครื่องมือสำหรับการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ Gotoknow.org
การก้าวสู่องค์กรแห่ง การเรียนรู้. * กระแสการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นมันรวดเร็วและรุนแรง ก็ด้วยปัจจัยที่ เกิดจากการก้าวกระโดดของเทคโนโลยีสาร สนเทศ ส่งผลให้เวทีการ.
วิทยาศาสตร์ในสังคมกับการจัดการความรู้
โดย ดร. ประพนธ์ ผาสุขยืด สถาบันส่งเสริมการจัดการความรู้เพื่อสังคม
Participation : Road to Success
การวัดผล (Measurement)
ชุมชนคนใกล้ หมอ นำเสนอ ในงาน KM DAY 28 สิงหาคม 2008.
แนวทางดำเนินงานจัดการความรู้ในงานส่งเสริมการเกษตร ให้ประสบผลสำเร็จ
Theory in Knowledge Management (KM 701)
โมเดลปลาทู “คุณเอื้อ” “คุณกิจ” “คุณอำนวย” CKO Knowledge Sharing (KS)
Corporate Communication Leading Team
ระบบวิจัยสุขภาพ ใน 2 ทศวรรษหน้า
เทคนิคการจัดการความรู้ ทางอิเล็กทรอนิกส์
Learning Organization & Knowledge Management
เทคนิคการจัดเวทีประชาคม
บทที่ 3 ปรัชญาและแนวความคิดของการพัฒนาชุมชน
หลักสตรูแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551
การจัดการความรู้ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพขององค์กร
การสัมมนาเชิงปฏิบัติการ เรื่อง
บทที่ 2 ทฤษฏีจริยธรรม.
สรุปบทความเรื่อง แนวทางการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ด้วย Competency
ระบบบริหารจัดการองค์ความรู้ในองค์กร
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
การบริหารความรู้ สู่องค์กรอัจฉริยะ
การจัดการความรู้ (Knowledge Management)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การจัดการความรู้ (Knowledge Management) จาก หลักการ สู่ การปฏิบัติ โดย ดร.ประพนธ์ ผาสุขยืด ผู้อำนวยการฝ่ายส่งเสริมการสื่อสารพัฒนาการเรียนรู้ สถาบันส่งเสริมการจัดการความรู้เพื่อสังคม (สคส.) The Knowledge Management Institute (KMI) www.kmi.or.th

ชนิดของความรู้ วิทยาการ ภูมิปัญญา เป็น“หลักวิชา” เป็น “ประสบการณ์” วิทยาการ ภูมิปัญญา เป็น“หลักวิชา” เป็น “ประสบการณ์” มาจากการเรียน “ปริยัติ” ได้จากการ “ปฏิบัติ” อยู่ในสื่อต่างๆ อยู่ในหัวคน เป็นความรู้ที่ “บันทึกได้” เป็นความรู้ที่ “ฝังลึก” คือเห็นได้ค่อนข้างชัด ซ่อนเร้น Explicit Knowledge Tacit Knowledge

ความรู้ หมุนเวียนเคลื่อนที่ได้ ตามกระบวนการ SECI หรือ Knowledge Spiral ของ Nonaka Tacit Socialization Explicit Externalization Internalization Explicit Combination การจัดการความรู้ คือการสร้าง “เกลียวความรู้” ให้เกิดขึ้นเพื่อนำมาใช้แก้ปัญหา / พัฒนางาน

บันได 5 ขั้นสู่การสร้างวัฒนธรรมการจัดการความรู้ (KM) 5. แทรกซึม(Institutionalisation) 4. ขยายผล (Expansion) 3. ตั้งต้น เริ่มดำเนินการ Pilot Projects 2. ตั้งมั่น สร้าง Commitment, วาง Strategy 1. ตั้งหลัก ปรับหลักคิด, ระบุหลักชัย, กำหนดหลักการ

ขั้นตอนที่ 1.1 ปรับ “หลักคิด” กระบวนทัศน์ KM กระบวนทัศน์เดิม มองการบริหารแบบ “จัดการ” มองการบริหารแบบ “บูรณาการ” เห็นความรู้แนบแน่น.... จัดแจง + สั่งการ - อยู่กับคน ใช้ Command & Control - อยู่กับงาน มองคนในฐานะ “ผู้ปฏิบัติ” เน้นการ “มีส่วนร่วม” เห็นความรู้อยู่ “ลอยๆ” ใช้ความรู้ + ความรู้สึก - แยกจากคน - ไม่อิงบริบท เน้น Empower + Encourage

วัตถุประสงค์ (Objective) ขั้นตอนที่ 1.2 ระบุ “หลักชัย” ทิศทาง เป้าหมาย วัตถุประสงค์ (Objective) พันธกิจ (Mission) วิสัยทัศน์ (Vision) “ทิศทาง เป้าหมาย ทำให้ใจจดจ่อ ใจที่จดจ่อ (Focus) ก่อให้เกิดพลัง” - ประพนธ์ ผาสุขยืด

หลักการที่สำคัญ - KM จะเริ่มได้ ต้องมี... ขั้นตอนที่ 1.3 กำหนด “หลักการ” หลักการที่สำคัญ - KM จะเริ่มได้ ต้องมี... เวลา (Time) เวที/พื้นที่ (Space) - Physical Space (F2F) - Virtual Space (ICT) ไมตรีจิต (Relationship) - Love, Care, Share, Commitment ผู้ทำหน้าที่ “คุณอำนวย” (Facilitators)

การจัดการความรู้ = การจัดการ “เวลา” เวลาสำหรับ “ประยุกต์/ใช้” ความรู้ (Knowledge Application, Knowledge Usage) เวลาสำหรับ “สร้าง/บ่มเพาะ” ความรู้ (Knowledge Creation, Knowledge Cultivation) (Knowledge Distribution, Knowledge Sharing) เวลาสำหรับ “กระจาย/แบ่งปัน” ความรู้

การจัดการความรู้ = การจัดการ “พื้นที่” Physical Space vs. Virtual Space “Ba” – Shared Space (Nonaka) “CoPs” – Community of Practices

คุณลักษณะที่ดีของ CoPs เป็นการ “ชุมนุม” ของคนที่สนใจเรื่องเดียวกัน (งาน, ปัญหา) เป็นกลุ่มคนที่มีพื้นฐาน และประสบการณ์หลากหลาย เป็นการพบกันตามความสมัครใจ ไม่ใช่การบังคับ เป็นเวทีที่ที่ทำให้คนมีความรู้สึกดีๆ อิสระและปลอดภัย เป็นบรรยากาศแห่งความไว้เนื้อเชื่อใจ ช่วยเหลือ เกื้อกูล

มุมมองต่อการใช้ “ICT” ICT ไม่ใช่ “เป้าหมาย” ของ KM ICT เป็น “เครื่องมือ” KM ที่ทรงพลัง ICT ต้องทำให้คนยิ่ง “ใกล้ชิด” กัน การลงทุนใน ICT vs การลงทุนในคน

การจัดการความรู้ การจัดการความสัมพันธ์ การจัดการความรู้ การจัดการความสัมพันธ์ Care & Share / Give & Grow Share & Shine

ขั้นตอนที่ 3 “ตั้งต้น” มีหลักแล้ว มีความมุ่งมั่นแล้วต้องออกเดิน ทุกสิ่งทุกอย่างล้วนเกิดขึ้นได้ ด้วยก้าวแรก ความปรารถนา ความต้องการ (ฉันทะ) ความพยายาม ความเพียร (วิริยะ) ความคิดจดจ่อ (จิตตะ) ปัญญาไตร่ตรอง (วิมังสา) “Think Big, Act Small, Begin Now.” -Rockefeller

โครงการนำร่อง (Pilot Project) บททดสอบความพร้อม โครงการนำร่อง (Pilot Project) มี “โจทย์” ที่ชัด และ Align กับ Vision มี “Core Team” ที่หลากหลาย และสนใจเรื่องนี้ มี “Key Content” มากพอที่จะเริ่มต่อไปได้ มี “เวที” ให้เริ่มทั้งแบบ F2F และ Virtual มี “คุณอำนวย” ช่วยหมุน “เกลียวความรู้”

บทบาท ของ Facilitators วางตัวเป็นกลาง ไม่เข้าข้าง ไม่ dominate ใส่ใจในกระบวนการไม่ใช่เนื้อหา (content) คิดเสมอว่าคนในกลุ่มคือผู้รู้ (expert) ช่วยส่งเสริม แต่ไม่ใช่ไปทำเอง (“คนเชียร์แขก”)

“There ’s never been a breakthrough that has occurred by writing a memo. Breakthroughs occur when two or more people get together, get inspired, have fun, think the unthinkable.” -Lars Kolind CEO of Oticon

การจัดการความรู้ เปิดประตูไปสู่ “ความหมายใหม่” ความรู้ ที่เป็นการบูรณาการระหว่าง Explicit & Tacit ระบบ & คน เหตุผล & ความรู้สึก สมอง & ใจ การจัดการ ที่สร้างสมดุลระหว่าง Efficiency & Creativity Discipline & Chaos ศาสตร์ & ศิลป์

เราจะเริ่มต้นที่ตรงไหน เพื่อให้สามารถเริ่มได้ทันที วิถีคิด วิถีชีวิต เราจะทำอย่างไร ให้ KM เป็นส่วนหนึ่งของชีวิต (การทำงาน) เราจะเริ่มต้นที่ตรงไหน เพื่อให้สามารถเริ่มได้ทันที