การจัดบริการสุขภาพ ผู้สูงอายุไทย

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ยุทธศาสตร์ การส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ
Advertisements

ปัจจัยสำคัญที่มีผลต่อความสำเร็จของรพ.สต.
กายภาพบำบัด ใน โรงพยาบาลสร้างเสริมสุขภาพตำบล
ดร. ธนวรรธน์ อิ่มสมบูรณ์
ทีมนิเทศงานจากสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสกลนคร
นโยบายการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข ภารกิจ(3)ประเด็นหลัก(5)หัวข้อ (19) 1. การตรวจติดตาม นโยบายและปัญหา เร่งด่วนของกระทรวง สาธารณสุข 1. การดำเนินงานเพื่อ.
ท่วงท่า อิริยาบถในชีวิตประจำวัน
จะต้องผ่านเกณฑ์ด้านการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุระยะยาวที่กำหนดไว้ทั้ง 4 ข้อ
ตัวชี้วัด P4P ตัวชี้วัดที่2 : ร้อยละของผู้ที่อยู่ในภาวะพึ่งพิง(ติดเตียง)ได้รับการดูแล สุขภาพที่บ้าน(HHC) โดยบุคลากรสาธารณสุข เป้าหมาย ร้อยละ 80.
การบริหารงบบริการสร้างเสริมสุขภาพและ ป้องกันโรคทั่วไป (ยกเว้นค่าบริการทันตกรรมส่งเสริมป้องกัน)
ภ ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
แนวคิด การดำเนินงาน โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
นโยบายการดำเนินงานโรคเรื้อรัง ตัวชี้วัด: จังหวัดมีการดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคเรื้อรัง (สุขภาพดีวิถีชีวิตไทย) ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน โดย รัตนาภรณ์ ฮิมหมั่นงาน.
นโยบาย/แนวทางการดำเนินงาน และกลุ่มหญิงตั้งครรภ์
การพัฒนา หน่วยบริการปฐมภูมิ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
โรคหลอดเลือดสมองเสื่อม
(ส่วนที่เกี่ยวข้องกับพื้นที่)
นพ.วินัย ศรีสอาด สถาบันเวชศาสตร์ผู้สูงอายุ กรมการแพทย์
คลินิกผู้สูงอายุ อดีต ปัจจุบัน อนาคต
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
เขต 15 เขต 15: เชียงใหม่ ลำพูน ลำปาง แม่ฮ่องสอน.
LOGO งาน High Light การพัฒนา สุขภาพ จังหวัดลพบุรี ประจำปี 2552.
รักษาราชการแทนปลัดกระทรวงสาธารณสุข
แผนเชิงรุกการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ปีงบประมาณ 2551 โดยคณะทำงานยกร่างแผนงานเชิงรุก กระทรวงสาธารณสุข-สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ นพ.ชูวิทย์
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
ภารกิจ อสม.งานประจำ/งานนโยบาย
น.พ. ศิริวัฒน์ ทิยพ์ธราดล
นโยบาย ปฐมภูมิ ลดแออัด พัฒนาคุณภาพบริการ
แผนหลัก สรุปทิศทาง. สสส. เปรียบเสมือน “น้ำมันหล่อลื่น” ที่ช่วยให้ ฟันเฟืองของกลไกสร้างเสริมสุขภาพทำงาน อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด.
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
แผนส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค กลุ่มวัยผู้สูงอายุ 2557
การขับเคลื่อนการดำเนินงานสุขภาพจิตชุมชน
ทิศทาง การทำงาน๒๕๕๔ นพ.นิทัศน์ รายยวา 1.
ร่วมด้วย ช่วยกัน ประชาชนคือ เป้าหมาย ร่วมด้วย ช่วยกัน ประชาชนคือ เป้าหมาย นพ. นิทัศน์ ราย ยวา ผู้ตรวจราชการ กระทรวงสาธารณสุข.
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
นโยบายด้านส่งเสริมสุขภาพ กลุ่มผู้สูงอายุ
คลินิกผู้สูงอายุต้นแบบ (Geriatric Clinic Model) โรงพยาบาลอุดรธานี
กลุ่มงานส่งเสริมสุขภาพ สสจ.อุดรธานี
ภาพฝัน ? การป้องกันควบคุมโรคในพื้นที่
ส่งเสริมสัญจร.
แนวทางการดำเนินงาน กรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2554
นโยบายโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
แนวทางการปฏิบัติภารกิจ ของสถานีอนามัย
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
แนวทางการดำเนินงานผู้สูงอายุจังหวัดเชียงใหม่ ปี 2556
เพิ่มภาพ แผนที่ตำบล หรือภาพกิจกรรมชมรมสูงอายุในพื้นที่
บทบาทท้องถิ่นกับการพัฒนาคุณภาพชีวิต
มีการอบรมป้องกันพฤติกรรมเสี่ยงในวัยรุ่น
องค์ประกอบและระยะเวลาที่ เปลี่ยนแปลง  จากมีวาระ 2 ปี เป็น 4 ปี  เพิ่ม ผู้แทนหน่วยรับเรื่องร้องเรียน อิสระ หรือศูนย์ประสานงานภาค ประชาชน หรือองค์กรเอกชนด้าน.
วิสัยทั ศน์ เป็นองค์กรที่เป็นเลิศด้าน การแก้ไขปัญหาสุขภาพจิตจาก แอลกอฮอล์ของประเทศและ พัฒนาระบบบริการสุขภาพจิต และจิตเวชในเครือข่ายบริการ สุขภาพจิตที่
การเชื่อมโยงนโยบายบริการสุขภาพลงสู่อำเภอ, ตำบล
คปสอ.ยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์ ผลงานรอบที่ 1/2555.
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
การพัฒนางานสุขภาพจิต วัยทำงาน - สูงอายุ
แนวทางดำเนินงานสุขภาพภาคประชาชน ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
นโยบายกรมสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2554
ทีมหมอประจำครอบครัว (Family care team) ดูแลถ้วนทั่วทุกกลุ่มวัย
แนวทางการดำเนินงานสุขภาพจิต กลุ่มวัยทำงาน
ผังจุดหมายปลายทางการจัดการสุขภาพ จังหวัดสุรินทร์ ภายในปี 2555

"วาริชภูมิน่าอยู่ ผู้คนสุขภาพดี ภาคี เข้มแข็ง"
และแนวทางการตรวจราชการ คณะที่ 1 : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
การสร้างความเข้มแข็ง ให้แก่ผู้สูงอายุ
ทิศทางการพัฒนางานสุขศึกษาและพฤติกรรมสุขภาพ
ประชาชน “อุ่นใจ” มีญาติทั่วไทย เป็นทีมหมอครอบครัว
“สังคมคุณภาพเพื่อผู้สูงอายุ”
การพัฒนาคนตลอดช่วงชีวิต
ยุทธศาสตร์การพัฒนารพ. สต. แบบบูรณาการจังหวัดแพร่ ประจำปีพ. ศ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การจัดบริการสุขภาพ ผู้สูงอายุไทย ศ.นพ.พงษ์ศิริ ปรารถนาดี

ผู้สูงอายุไทย ประชากรไทย ชาย หญิง ประชากรสูงอายุ ร้อยละ 60-79 ปี ประชากรสูงอายุ ร้อยละ 60-79 ปี 80 ปีขึ้นไป 62.5 ล้าน 30.87 ล้าน 31.65 ล้าน 10.5 6.00 ล้าน 0.62 ล้าน ประชากรศาสตร์ มหิดล 2549

ผู้สูงอายุไทย ปี 2547 6.5 ล้าน อีก 20 ปีข้างหน้า 13.5 ล้าน ปี 2547 6.5 ล้าน อีก 20 ปีข้างหน้า 13.5 ล้าน กลุ่มอายุ 80 ปีขึ้นไป เพิ่มจาก 7 แสน เป็น 1.8 ล้านคน ขนาดครอบครัวไทย 3.5 คน

ผู้สูงอายุไทย อายุเฉลี่ย ชาย หญิง 68.2 ปี 75.1 ปี 68.2 ปี 75.1 ปี ประชากรศาสตร์ มหิดล 2549

การเจ็บป่วยเรื้อรัง วิถีชีวิต โรคเรื้อรัง ปัจจัยเสี่ยง บุหรี่ แอลกอฮอล์ การออกกำลัง อาหาร สิ่งแวดล้อม ความดันโลหิตสูง เบาหวาน อ้วน ไขมันในเลือดสูง อุบัติเหตุ ไขข้ออักเสบ อัมพฤกษ์ อัมพาต ช่วยตัวเองไม่ได้ สมองเสื่อม ซึมเศร้า

ภาวะพึ่งพาผู้สูงอายุ (x 1,000) 2543 3553 2563 ออกนอกบ้านไม่ได้ นอนติดเตียง ช่วยตัวเองไม่ได้ สมองเสื่อม 234 45 350 163 341 65 500 241 508 98 742 358

ประเด็นสำคัญของประชากร การเปลี่ยนแปลงโครงสร้าง - ประชากรสูงอายุมากขึ้น - ขนาดครอบครัวเล็กลง การเปลี่ยนแปลงทางสังคม - การเคลื่อนย้ายที่อยู่ - การเปลี่ยนรูปแบบการทำงาน - วิถีชีวิต / ค่านิยม นำไปสู่การพัฒนารูปแบบการดูแลผู้สูงอายุ

มิติใหม่ : การดูแลผู้สูงอายุ มิติใหม่ : การดูแลผู้สูงอายุ เน้นการส่งเสริมสุขภาพ - การป้องกันโรค ควรเน้นการดูแลในชุมชน การอยู่โรงพยาบาล เป็นทางเลือกเมื่อจำเป็น ให้เป็นหน้าที่ของชุมชน

มิติใหม่ : ระบบการดูแลสุขภาพ มิติใหม่ : ระบบการดูแลสุขภาพ - สร้างสุขภาพ - บริการในชุมชน - สามารถดูแลตนเอง - คุ้มครองผู้บริโภค

กำนัน ผู้ใหญ่บ้าน สอ.,รพช. วัด โรงเรียน กลุ่มแม่บ้าน อสม. ภาคีเครือข่ายในชุมชน แกนหลักในการทำกิจกรรม ภาครัฐ กำนัน ผู้ใหญ่บ้าน สอ.,รพช. ภาคเครือข่าย ผู้สูงอายุ ภาคท้องถิ่น อบต. อบจ. เทศบาล ชมรมผู้สูงอายุ ภาคประชาสังคม วัด โรงเรียน กลุ่มแม่บ้าน อสม.

บริการสุขภาพ ชุมชน ดูแลตนเองได้ ชุมชน ดูแลตนเองไม่ได้ เข้าสู่ระบบบริการ รุกถึงประตูบ้าน

พยาบาล - อนามัย องค์กรชุมชน เจ้าหน้าที่ชุมชน- อสม. ชุมชน - เครือข่าย ระบบบริการสุขภาพสู่ชุมชน แพทย์ นักกายภาพ/วิชาชีพ พยาบาล - อนามัย องค์กรชุมชน เจ้าหน้าที่ชุมชน- อสม. ชุมชน - เครือข่าย บ้าน - ผู้สูงอายุ

กระบวนทัศน์ใหม่ : การบริการสุขภาพ กระบวนทัศน์ใหม่ : การบริการสุขภาพ การบริการเชิงรับ นักกายภาพ/วิชาชีพ เน้นการรักษา ทุติยภูมิ / ตะติยภูมิ ปฐมภูมิ

การให้บริการเชิงรุก ปรับเปลี่ยนบทบาทบุคลากรทางสุขภาพ ให้สอดคล้องกับการปฏิรูประบบสุขภาพ และการเปลี่ยนแปลงของสังคมไทย

หน้าที่หลัก : บุคลากรทางสุขภาพ หน้าที่หลัก : บุคลากรทางสุขภาพ - เน้นสร้างความเข้มแข็งของชุมชน เรื่องสุขภาพ - ให้ข้อมูล ความรู้ด้านสุขภาพ - ให้คำปรึกษา ให้การอบรมดูแล - คอยพิทักษ์ผลประโยชน์ คุ้มครองสิทธิ

บทบาทของบุคลากรทางสุขภาพ ในการดูแลผู้สูงอายุ (1) - การประเมินสุขภาพ (ADL,IADL) - การส่งเสริมสุขภาพ - สนับสนุนการดูแลตนเอง - การให้บริการสุขภาพ รูปแบบต่างๆ (Home Care, Home Health Care) - การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล - การจัดสิ่งแวดล้อมให้เหมาะสม

บทบาทของบุคลากรทางสุขภาพ ในการดูแลผู้สูงอายุ (1) - การประเมินสุขภาพ (ADL,IADL) - การส่งเสริมสุขภาพ - สนับสนุนการดูแลตนเอง - การให้บริการสุขภาพ รูปแบบต่างๆ (Home Care, Home Health Care) - การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล - การจัดสิ่งแวดล้อมให้เหมาะสม

บทบาทของบุคลากรทางสุขภาพ ในการดูแลผู้สูงอายุ (2) - การส่งต่อผู้ป่วย - การฟื้นฟูสภาพในชุมชน - จัดหาอุปกรณ์ที่จำเป็น - การดูแลแบบชั่วคราว - การดูแลระยะสุดท้าย (Hospice Care, Palliative Care) - การให้ข้อมูลแก่ญาติ ชุมชน - ให้คำปรึกษา ให้กำลังใจแก่ครอบครัว

บทบาทของบุคลากรทางสุขภาพ ในการดูแลผู้สูงอายุ (3) - สนับสนุนการมีสัมพันธภาพ ผู้สูงอายุ , ครอบครัว , ชุมชน - อบรมผู้สูงอายุให้ดูแลตนเอง ครอบครัว , ผู้ดูแล - ให้กำลังใจผู้สูงอายุ , ผู้ดูแล - ขับเคลื่อนชุมชนให้มีส่วนร่วม - จัดกิจกรรมพัฒนาคุณภาพชีวิต

“ช่วยเหลือตนเองไม่ได้” ให้มีคุณภาพชีวิตที่ดี ส่งเสริมคุณค่าผู้สูงอายุ สร้างหลักประกัน กระบวนการสร้างความมั่นคง เป้าหมาย พัฒนาผู้สูงอายุ “ช่วยเหลือตนเองได้” สงเคราะห์ผู้สูงอายุ “ช่วยเหลือตนเองไม่ได้” ให้คงช่วยเหลือ ต่อไปให้นานที่สุด ให้มีคุณภาพชีวิตที่ดี ตามอัตภาพ

กระบวนการสร้างหลักประกัน ในวัยสูงอายุ - ช่วยเหลือตนเอง - ครอบครัวเกื้อหนุน - ชุมชนช่วยเหลือ - สังคม-รัฐ อุปถัมภ์

การบริการเชิงรุกอย่างบูรณาการ - เข้าถึงประตูบ้าน - เน้นบุคคล-ครอบครัว ชุมชนพึ่งตนเอง (Self Care) เข้าถึงผู้ด้อยโอกาสและผู้ลำบาก - การดูแลแบบบูรณาการ - สุขภาพ - สังคม (Home Visit , Home Care Home Health Care Home Help Care)

การเข้าถึงบริการของผู้สูงอายุ - ช่องทางพิเศษ - ระยะทาง - ความรู้ - ความจน - ข้อจำกัดทางร่างกาย , สุขภาพ