1) Real Time holographic interterometry - ทำ Hologram ลงบนแผ่นฟิลม์ - สร้าง ภาพจากแผ่นฟิลม์ โดย ที่ ไม่ต้องยกวัตถุต้นแบบออกไป - จะได้ภาพจากแผ่นฟิลม์ซ้อน อยู่กับ วัตถุต้น แบบ - หากวัตถุต้นแบบ เปลี่ยน รูปร่าง ไปก็จะเกิดเป็นแถบ แทรกสอด ขึ้น
ข้อควรระวัง - ต้องให้ตำ แหน่งของฟิลม์ และ วัตถุต้นแบบอยู่ที่ เดิม - ต้องมีระบบ ป้องกันการ สั่น สะเทือนของ โต๊ะ ที่วางอุปกรณ์ - การเปลี่ยนขนาดของแผ่นฟิลม์ (ยืด/หด) ภายหลังการ ล้าง
2) Double cxposure holographic interterometer - บันทึกภาพของวัตถุต้นแบบ 2 ครั้ง ที่ เวลา ต่างกันลงบน แผ่นฟิลม์ แผ่นเดียวกัน ข้อสังเกตุ - ภาพ ที่ ได้ จากการ สร้าง จะไม่ มี การ เปลี่ยนแปลงเพราะ เป็น ภาพนิ่ง ที่ เกิด จากแผ่นฟิลม์ เท่า นั้น บางครั้ง เรียกวิธีการ นี้ ว่า (Frozen Fringe method)
3) Time average holographic interferometry - วัตถุต้นแบบ มีการ สั่น - ทำการ บันทึกภาพขณะ ที่วัตถุ นั้น สั่นสะเทือนอยู่ ข้อจำกัด - ระยะเวลาของการบันทึกภาพ จะต้องยาวนานกว่า คาบของ การสั่น สะเทือนของวัตถุ