บทที่ 18 Quarks, Leptons & Big Bang 1. การจำ แนกอนุภาคโดยใช้ spin - ถ้า spin เป็นจำนวนเต็มเรียก bosons - ถ้า spin มีค่ าเป็นครึ่งของ จำนวนนับ เรียก fermions โดย bosons จะไม่ประพฤติตัว ตามกฏของ Pauli
2. การจำ แนกอนุภาคโดยใช้ แรงกระทำระหว่างอนุภาค 2.1 แรงเนื่องจากแรงโน้มถ่วง ตามกฎ ของนิวตัน มีการ แลกเปลี่ยน graviton* 2.2 แรงแม่เหล็กไฟฟ้า มีการ แลกเปลี่ยน photon 2.3 แรงนิวเคลียร์อย่างแรง แลกเปลี่ยน gluon ใน quarks 2.4 แรงนิวเคลียร์อย่างอ่อน แลกเปลี่ยน W+, Z0
อนุภาคที่ถูกกระทำด้วยแรงนิวเคลียร์อย่างแรง เรียกว่า “hadrons” mesons baryons (bosons) (fermions) (quark+anti quark) (3 quarks)
อนุภาคที่ ถูกกระทำด้วยแรงนิวเคลียร์ อย่างอ่อนเรียกว่า “lepton” “Leptons” mesons tauon electron
3. การจำแนกอนุภาคเป็นอนุภาค และอนุภาคตรงข้าม อนุภาคจะมีมวลและ spin เท่ากันแต่จะมีประจุตรงข้ามกัน เมื่อรวมตัวกันจะสลายตัวให้พลังงาน เช่น
4. แบบจำลองของควาก เพื่อที่จะหาหลักเกณฑ์ในการเขียนสมการของการแตกตัวหรือการประกอบ เป็นอนุภาคมูลฐานทำ ให้สามารถสรุปเป็นกฎการอนุรักษ์เพิ่ม นอกจากการอนุรักษ์ ประจุได้อีก 3 ข้อ 1. การอนุรักษ์ เลข Lepton 2. การอนุรักษ์ เลข Baryon (B) 3. การอนุรักษ์ เลข Strangeness (S)
ซึ่งภายหลังพบว่า กฎทั้งสามนี้ นำไป สู่การศึกษาค้นคว้าจนพบว่าอนุภาค hadrons ซึ่งได้แก่ meonsและ Baryons ยังประกอบ ด้วยอนุภาคที่ เรียกว่า “quarks”
ตัวอย่างของ Baryons ( 3 quarks) Proton = u + u + d Q ประจุ + 1 = B = 1 = S = 0 = 0 + 0 + 0 = 0
(quark + antiquark) ตัวอย่างของ Mesons Q ประจุ + 1 = s = 0 = 0 + 0 = 0
5. จักรวาลที่กำลังขยายตัว - Red Shift 6. Big Bang - microwave background radiation - Unified Field Theory 7. Synchrotron