อนาคตเศรษฐกิจประเทศไทย ทนง พิทยะ
วิเคราะห์เศรษฐกิจไทย: Econ 101 ด้านอุปสงค์-การใช้ประโยชน์จากผลผลิต Consumption - การบริโภค Investment - การลงทุน Government’s expenditure - การใช้จ่ายภาครัฐ Net exports – ดุลบัญชีเดินสะพัด ด้านอุปทาน-การสร้างผลผลิต Natural resources - ทรัพยากรธรรมชาติ Human resources - ทรัพยากรมนุษย์ Physical resources – ทุนทรัพย์/อุปกรณ์การผลิต Technology- เทคโนโลยี
บทเรียนจากวิกฤติเศรษฐกิจ 1987-91 1992-96 1997-98 1999-2001 2002-06 2007-08 GDP 10.9 8.1 -5.9 3.9 5.6 3.8 อัตราเงินเฟ้อ 4.7 4.8 6.9 1.2 2.9 ดุลบัญชีเดินสะพัด/GDP1/ -7.7 -8.1 12.8 7.4 -0.1 หนี้ต่างประเทศ/GDP 1/ 44.4 65.9 69.9 56.1 32.8 26.8 Source: NESDB 1/ at the final year of each period The Tsunami disaster High crude oil prices/inflation Global economic recession Low interest rate, banks’ lending data and consumption expanded at an accelerating rate. Private investment expanded significantly. Noticeable recovery of the global economy bolstered the country’s exports. Oil price World economic recession Political unrest 3
นโยบายการเงิน นโยบายกำหนดอัตราดอกเบี้ย นโยบายกำหนดปริมาณเงิน นโยบายพัฒนาสถาบันการเงิน นโยบายอัตราแลกเปลี่ยน
นโยบายการคลัง นโยบายภาษีและการปรับโครงสร้างภาษี นโยบายงบประมาณ นโยบายการลงทุนภาครัฐ นโยบายการบริหารรัฐวิสาหกิจ
เศรษฐกิจโลกกับประเทศไทย การฟื้นตัวจากวิกฤติซับไพร์ม สภาวะไร้สมดุลและกระบวนการปรับสถานะทางเศรษฐกิจโลก ประเทศเจริญแล้วกับการสร้างหนี้สาธารณะ ความผันผวนจากการเคลื่อนย้ายทุน, สินค้า และ คน ในปัจจุบัน
ลักษณะเศรษฐกิจการเมืองประเทศไทย การพัฒนาการเมืองกับการพัฒนาเศรษฐกิจ การเพิ่มขึ้นของช่องว่างระดับรายได้ ปรากฏการณ์กับดักรายได้ การลดหย่อนของสมรรถนะการแข่งขันทางเศรษฐกิจ
ขั้นตอนการพัฒนาอุตสาหกรรมประเทศไทย 1960s ทดแทนการนำเข้า 1970s ส่งเสริมการส่งออก 1980s การลงทุนทางตรงจากต่างประเทศ 1990s อุตสาหกรรมปิโตรเคมี 2000s สร้างสมรรถนะการแข่งขันทางอุตสาหกรรม 2010s ????
เศรษฐกิจไทย 2013 GDP 12.2 trillion baht หนี้สินของประเทศ 45% เงินเฟ้อพื้นฐาน 1.31% เงินเฟ้อทั่วไป 2.11% สำรองเงินตราระหว่างประเทศ USD 168 billion อัตราดอกเบี้ยนโยบาย 2.00% การใช้กำลังการผลิต 59%
เศรษฐกิจไทยในปัจจุบัน- ขาดสมดุลทางโครงสร้าง ระดับการว่างงานต่ำ - ขาดแรงงานฝีมือและช่างเทคนิค อัตราเงินเฟ้อต่ำ - ข้าวยากหมากแพงสำหรับคนจน อัตราดอกเบี้ยต่ำ - คนจนไม่มีสิทธิกู้เงิน การลงทุนภาคเอกชนชะลอตัว การส่งออกเพิ่มขึ้นน้อย
ประมาณการเศรษฐกิจไทย 2557 ประมาณการเศรษฐกิจไทย 2557 2555 2556 17 ก.พ. 57 19 พ.ค. 57 GDP (ณ ราคาประจำปี, พันล้านบาท) 11,375 11,897 12,599 12,424 อัตราเพิ่มของ GDP (ณ ราคาคงที่ %) 6.5 2.9 3.0 – 4.0 1.5 – 2.5 การลงทุนรวม (ณ ราคาคงที่ %) 13.2 -2.0 3.1 -1.3 - ภาคเอกชน 14.4 -2.8 3.8 -0.2 - ภาครัฐ 8.9 1.3 0.3 -5.0 การบริโภครวม (ณ ราคาคงที่ %) 6.8 1.1 1.6 1.0 - ภาคเอกชน 6.7 0.3 1.4 0.8 - ภาครัฐ 7.5 4.9 2.0 1.8 มูลค่าการส่งออกสินค้า (การขยายตัว %) 3.1 -0.2 5.0 – 7.0 3.7 มูลค่าการนำเข้าสินค้า (การขยายตัว %) 8.8 -0.4 5.7 0.5 ดุลการค้า (Bill. USD) 6.0 6.4 9.6 13.6 ดุลบัญชีเดินสะพัด (Bill. USD) -1.5 -2.8 -0.6 1.9 ดุลบัญชีเดินสะพัดต่อ GDP (%) -0.4 -0.6 -0.2 0.5 เงินเฟ้อ (%) 3.0 2.2 1.9 – 2.9 1.9 – 2.9
ประเทศไทยปี 2020 ถ้าไม่มีการปฏิรูปทางนโยบาย ระบบรางซึ่งไร้ประสิทธิภาพ ขาดดุลการค้าเพิ่มขึ้นจากการนำเข้าพลังงาน หนี้ของประเทศสูงกว่า 60% ระดับช่องว่างรายได้สูงขี้น มลภาวะในเมืองเสื่อมลง
กลยุทธเพื่อหลุดพ้นจากกับดักรายได้ เพิ่มผลผลิตภาคเกษตรกรรมพร้อมทั้งลดประชากรภาคเกษตร พัฒนาภาคอุตสาหกรรมด้วยการยกระดับเทคโนโลยี พัฒนาลอยิสติกค์และโครงสร้างพื้นฐานอย่างเป็นระบบ เพิ่มอุตสาหกรรมภาคบริการ
ความท้าทายต่อภาครัฐ-การบ้านที่ท้าทาย การปฏิรูปทางการเมือง การปฏิรูประเบียบราชการ การปฏิรูปโครงสร้างภาษี การปฏิรูปสถาบันการเงิน ปฏิรูป BOI การปฏิรูปกระบวนการศุลกากร
The End