เทคนิคในการวัดความเสี่ยง

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การวิเคราะห์ความแปรปรวน แบบหนึ่งทาง
Advertisements

บทที่ 2 เทคนิคการปรับปรุงคุณภาพ
ลิมิตและความต่อเนื่อง
เป็นการศึกษาผลต่างของประชากรสองกลุ่ม ซึ่งประชากรทั้งสองกลุ่มต้องเป็นอิสระต่อกัน หรือไม่มีความสัมพันธ์กันโดยการกำหนดสมมติฐานในการทดสอบเป็นดังนี้
การทดสอบสมมติฐานเกี่ยวกับ ค่าเฉลี่ยประชากร 1 กลุ่ม
ความน่าจะเป็น Probability.
ความเสี่ยงและอัตราผลตอบแทน
บทที่ 12 การวิเคราะห์การถดถอย
การทดสอบที (t) หัวข้อที่จะศึกษามีดังนี้
Sampling Distribution
สถิติที่ใช้ในการวิจัย
สถิติที่ใช้ในการวิจัย
Chapter 4: Special Probability Distributions and Densities
Chapter 3: Expected Value of Random Variable
การวิเคราะห์ข้อมูลโดยสถิติเชิงพรรณนา (Descriptive Statistics)
(Statistical Package for the Social Sciences : SPSS)
เทคนิคการประเมินผลการเรียนการสอน (การให้ระดับคะแนน:เกรด)
Probability & Statistics
Probability & Statistics
จำนวนจริง F M B N ขอบคุณ เสถียร วิเชียรสาร.
ฟังก์ชัน ฟังก์ชันเป็นรูปแบบหนึ่งของความสัมพันธ์ แต่มีกฎเกณฑ์มากกว่า
บทที่ 6 การวิเคราะห์สหสัมพันธ์
การประมาณค่าทางสถิติ
คณิตศาสตร์และสถิติธุรกิจ
บทที่ 8 เมตริกซ์และตัวกำหนด.
Graphical Methods for Describing Data
คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
การวิเคราะห์สหสัมพันธ์และการถดถอย
การแจกแจงความน่าจะเป็นของตัวแปรสุ่ม
การคำนวณค่าสถิติเบื้องต้น … สถิติเชิงพรรณนา
โรงเรียนบรรหารแจ่มใสวิทยา ๖
งบลงทุน Capital Budgeting
ระบบจำนวนเต็ม โดย นางสาวบุณฑริกา สูนานนท์
Menu Analyze > Correlate
การวางแผนการผลิตรวม ความหมาย วัตถุประสงค์และขั้นตอนการวางแผนการผลิตรวม
การเสนอกระบวนงานบริการเพื่อขอรับการประเมิน
บทที่ 4 ผลตอบแทนและความเสี่ยง (1)
3.3 ร้อยละผลการปฏิบัติงานตาม แผนกลยุทธ์การสร้างราชการใส สะอาดของกรุงเทพมหานคร 4.3 การดำเนินการของเรื่อง ร้องเรียนเกี่ยวกับการทุจริตของ หน่วยงาน 4.4 ร้อยละของความสำเร็จของ.
CPE 332 Computer Engineering Mathematics II
การแจกแจงปกติ ครูสหรัฐ สีมานนท์.
ค33211 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 5
การวัดการกระจาย (Measures of Dispersion)
การประยุกต์ใช้ค่าเงินที่เปลี่ยนแปลงตามเวลา
วิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน รหัสวิชา ค ครูผู้สอน นางสาวสมใจ จันทรงกรด
การแจกแจงปกติ NORMAL DISTRIBUTION
การแจกแจงปกติ.
Week 10 การเขียนโปรแกรมเบื้องต้น #2
การใช้ CAPM ประมาณการต้นทุนของเงินทุน
ค21201 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม 1
ตัวประกอบ (Factor) 2 หาร 8 ลงตัว 3 หาร 8 ไม่ลงตัว 4 หาร 8 ลงตัว
Week 11 Basic Programs 2.
Option Risk Managemetn
Risk Management Strategy
บทที่ 4 การวัดการกระจาย
Risk Management Asst.Prof. Dr.Ravi.
ค่าคงที่สมดุล การเขียนความสัมพันธ์ของค่า K กับความเข้มข้นของสาร
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 น แรง.
Chi-Square Test การทดสอบไคสแควร์ 12.
สื่อการสอนด้วยโปรมแกรม “Microsoft Multipoint”
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
คะแนนมาตรฐาน และ โค้งปกติ
Risk Management Asst.Prof. Dr.Ravi. การระบุมูลค่าความเสี่ยง กรณีการแจกแจงแบบปกติ (Normal Distribution) ความเสี่ยงที่ Pr (r
บทที่ 1 จำนวนเชิงซ้อน.
บทที่ 7 การทดสอบค่าเฉลี่ยของ ประชากร. การทดสอบค่าเฉลี่ย 1 ประชากร ไม่ทราบค่าความแปรปรวนของประชากร ( ) สถิติที่ใช้ในการทดสอบ คือ t = d.f = n-1.
บทที่ 6 การจัดการโครงการ Project Management ญาลดา พรประเสริฐ.
คณิตศาสตร์ (ค33101) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 หน่วยการเรียนรู้ที่ 7
Basic Statistics พีระพงษ์ แพงไพรี.
QUIZ ก่อนเรียน เขียน ชื่อ-นามสกุล, รหัสนักศึกษา และ section
วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
บทที่ 3 งบแสดงฐานะการเงินรวม ณ วันซื้อหุ้น
ใบสำเนางานนำเสนอ:

เทคนิคในการวัดความเสี่ยง การคำนวณหาความเสี่ยงของการลงทุนมาจากหาค่าของอัตราผลตอบแทนจากการลงทุนที่เบี่ยงเบนไปจากที่ได้ประมาณการไว้ โดยเมื่อพิจารณาถึงความเสี่ยงแล้วไม่ว่าจะเบี่ยงเบนไปทางมากกว่า หรือน้อยกว่านับว่าเป็นความเสี่ยงทั้งสิ้น ในการวัดความเสี่ยง – ใช้วิธียกกำลังสองค่าของความต่างระหว่างอัตราผลตอบแทนของหลักทรัพย์ที่สนใจกับอัตราผลตอบแทนเฉลี่ยจากการลงทุน คูณด้วยความน่าจะเป็นของการเหตุการณ์ที่ i หรือเขียนในรูปของสมการได้ดังนี้

เทคนิคในการวัดความเสี่ยง โดยที่ = ความน่าจะเป็นของการเกิดเหตุการณ์ที่ i = อัตราผลตอบแทนการลงทุนในหลักทรัพย์ที่สนใจ = อัตราผลตอบแทนเฉลี่ยจากการลงทุน = ความเสี่ยง หรือค่าความแปรปรวนจากการลงทุน การวัดความเสี่ยงโดยพิจารณาจากส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของการลงทุนนั้นไม่ว่าอัตราผลตอบแทนจะสูงหรือต่ำกว่าที่ได้คาดการณ์ไว้จากค่าเฉลี่ยของอัตราผลตอบแทน ในแง่ของการลงทุนจะถือว่าเป็นความเสี่ยงทั้งนั้น ซึ่งอาจมีความแนวคิดอื่นที่ว่าความเสี่ยงในการลงทุนควรวัดจากการที่อัตราผลตอบแทนต่ำกว่าอัตราผลตอบแทนที่คาดการณ์ไว้เท่านั้น โดยแนวคิดนี้จะคำนวณค่าความแปรปรวนจากการเบี่ยงเบนไปจากอัตราผลตอบแทนที่คาดว่าจะได้เฉพาะในกรณีที่อัตราผลตอบแทนที่ลดต่ำกว่าที่คาดไว้หรือส่วนเบี่ยงเบนมีค่าลบนั่นเอง การคำนวณในลักษณะเช่นนี้เรียกว่า การคำนวณค่าความแปรปรวนแบบ Semi-Variance

เทคนิคในการวัดความเสี่ยง โดย เมื่อ เมื่อ ในกรณีที่รูปแบบการแจกแจงของอัตราผลตอบแทนเป็นการแจกแจงแบบปกติ (Normal Distribution) การวัดความเสี่ยงจากส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) ของอัตราผลตอบแทน ซึ่งก็คือ รากที่สองของความแปรปรวนของทั้งสองรูปแบบจะมีค่าเท่ากัน นั่นคือ