การตรวจสอบด้วยสารแทรกซึม (Liquid Penetrant Testing) PT, LPT,LPI

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เรื่อง อุตสาหกรรมปูนซีเมนต์ โรงเรียนอุดมดรุณี จังหวัดสุโขทัย
Advertisements

THAI STEEL CABLE PUBLIC COMPANY LIMITED
โครงงานคอมพิวเตอร์.
มหัศจรรย์ น้ำยาล้างจาน.
Soil Mechanics Laboratory
ชุดทดสอบ ปรอทแอมโมเนีย ในเครื่องสำอาง
สารเคมีกำจัดศัตรูพืช
‘คน’ และ ‘คน’ มีดีไซน์ ‘สังเกต’ แทรกดีไซน์ ‘ทีม’ คิดสู่ดีไซน์
เทคนิคการเชื่อมไฟฟ้า
วัสดุวิศวกรรมและการประยุกต์ใช้
หลักสำคัญในการล้างมือ
Concrete Technology 12 Feb 2004
การเคลื่อนที่ของแสงผ่านตัวกลางที่ต่างกัน
เรื่องการทดลองน้ำยาล้างจาน
วัสดุศาสตร์ Materials Science.
และคุณสมบัติอุปกรณ์การสร้างฉาก โดย อาจารย์ ศิริมงคล นาฏยกุล
ตัวอย่างแผนผังสถานที่ผลิตยาแผนโบราณ
เรื่อง เครื่องดูดฝุ่น
นำเสนอโดย,,, นายสุวิทย์ เมืองวงศ์
สวัสดีค่ะ.
หลักการออกแบบ ครูอนุชา สุระถา MR.ANUCHA SURATHA ครูนฤศรณ์ วิมลประสาร MR.NARUSORN WIMONPRASARN.
ความปลอดภัยในการปฏิบัติงาน
ชื่อและอุปกรณ์ที่ควรทราบ
ตัวต้านทาน ทำหน้าที่ ต้านทานและจำกัดการไหลของกระแสไฟฟ้าในวงจร
ชุดทดสอบสารโพลาร์ในน้ำมันที่ใช้ทอด
การทำแผ่นวงจรพิมพ์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ภาคพายัพ เชียงใหม่ นายศรายุทธ คงตา Tel
เตารีด คือ เครื่องใช้ไฟฟ้าที่สามารถหยิบยกได้ ให้ความร้อนแผ่นฐานด้วยไฟฟ้าและใช้สำหรับรีดวัสดุสิ่งทอให้เรียบ ปัจจุบันมีการนำเอาสารเคลือบ เทฟลอนมาเคลือบแผ่นฐาน.
เตาไฟฟ้า.
เครื่องปั่นน้ำผลไม้.
กระทะไฟฟ้า                .
เครื่องดูดฝุ่น.
เตาไมโครเวฟ.
เครื่องใช้ไฟฟ้า...ภายในบ้าน
กระติกน้ำร้อนไฟฟ้า.
เครื่องโปรเจคเตอร์PROJECTOR
เครื่องถ่ายเอกสาร.
ลิฟต์.
เครื่องม้วนผม.
ไดร์เป่าผม.
การบริหารยาทางฝอยละออง
อุตสาหกรรมฟอกหนัง ผลิตภัณฑ์จากหนัง งานตกแต่ง สี ขัด อัดหนัง
v v v v อุตสาหกรรมผลิตรองเท้า
ของภาชนะสัมผัสอาหาร และมือ
การทำแผลชนิดแห้ง( Dry dressing )
Magnetic Particle Testing
การกำจัดขยะโดยใช้หลัก 3R
ULTRASONIC TESTING คลื่นเสียงความถี่สูงหรืออัลตราโซนิกในความหมายโดยทั่วไปจะหมายถึง “คลื่นเสียงความถี่สูงที่หูมนุษย์ไม่สามารถได้ยินได้” ซึ่งคลื่นเสียงที่หูมนุษย์สามารถจะได้ยินหรือรับรู้ได้นั้นจะมีความถี่อยู่ระหว่าง.
การป้องกันการแพร่กระจายเชื้อไข้หวัดนก / ไข้หวัดใหญ่ในสถานพยาบาล
ระบบแสงสว่างทางทันตกรรม
น้ำมันรำข้าวและจมูกข้าว
การจำแนกประเภทของสาร
สิ่งประดิษฐ์ตู้ส่องสภาพผ้าแบบประหยัด
ประกาศการทรวงอุตสาหกรรม ฉบับที่ 4214 (พ. ศ
การเตรียมความพร้อมในการเขียนเอกสาร
การวิเคราะห์ดิน นางกาญจนาภรณ์ พรรณกมลกุล นางสาวพัชรา แสนสุข
1.สารลดแรงตึงผิว 2.ฟอสเฟต 3.ซิลิเกต 4.โซเดียมคาร์บอคซีเมทิลเซลลูโลส
วิชา งานสีรถยนต์.
“การผลิตถังบรรจุก๊าซปิโตรเลียมเหลวสำหรับเครื่องยนต์สันดาปภายใน”
มาตรฐานการสุขาภิบาลอาหาร สำหรับโรงอาหาร
สถานที่ปรุง ประกอบ จำหน่ายอาหาร
แบบทดสอบชุดที่ 2 คำชี้แจง จงเลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงคำตอบเดียวทำลงในกระดาษคำตอบที่กำหนดให้
สารที่ใช้ในการทำความสะอาด
ห้องรับแขกที่ดูสบายตา
การใช้น้ำหมักชีวภาพ (Enzyme)
เครื่องจักรและกรรมวิธีการตัดโลหะแผ่นสมัยใหม่
ผลงาน CQI งานกายภาพบำบัด
Assignment เหล็กโครงสร้างรูปพรรณ
ชุดตรวจปริมาณฟอร์มัลดีไฮด์ใน อาหารทะเล และ ชุดตรวจปริมาณเหล็กละลายน้ำ.
โครงงานวิทยาศาสตร์.
วิชาคอมพิวเตอร์ คุณครูภาราดร ฟุ้งเฟื้อง
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การตรวจสอบด้วยสารแทรกซึม (Liquid Penetrant Testing) PT, LPT,LPI

การตรวจสอบด้วยสารแทรกซึม (PT) (Liquid Penetrant Testing) ใช้ตรวจสอบรอยบกพร่องหรือความไม่ต่อเนื่อง ในชิ้นงานที่เปิดถึงผิว ใช้ได้กับวัสดุทุกชนิด แก้ว พลาสติก เซรามิค โลหะ อโลหะ ยกเว้นชนิดที่สามารถดูซึมสารตรวจสอบ สามารถตรวจสอบหารอยแยกที่มีความกว้างเพียง 0.127 ไมครอน (C.E. BETZ 1990) (0.075 ไมครอน)

Penetrant Red Developer Black light Penetrant Fluorescent Cleaner

ขั้นตอนของการตรวจสอบด้วยสารแทรกซึม (PT) 1. ทำความสะอาดชิ้นงานก่อนการทดสอบ 2. การทาเคลือบผิวชิ้นงานด้วยสาร PENETRANT

ขั้นตอนของการตรวจสอบด้วยสารแทรกซึม (PT) (ต่อ) 3. ทำความสะอาด PENETRANT ส่วนเกิน 4. การทาเคลือบผิวชิ้นงานด้วย DEVELOPER

ขั้นตอนของการตรวจสอบด้วยสารแทรกซึม (PT) (ต่อ) 5. การตรวจหารอยบกพร่อง 6. การทำความสะอาดหลังการทดสอบ

Step 1 Cleaner

Step 2 Penetrant Penetrant

Step 3 Cleaner

วิธี Solvent Removable

วิธี Solvent Removable Penetrant ส่วนเกิน Penetrant ที่อยู่ใน รอยความไม่ต่อเนื่อง

Step 4 Developer

Step 5 INDICATION

รอยความไม่ต่อเนื่อง บุคลากร 1,2,3

ชนิดของสารแทรกซึม แบ่งออกได้เป็น 3 ประเภท ตามชนิดของการมองเห็นคือ 1.ชนิดเรืองแสง (Fluorescent dye) 2.ชนิดมองเห็นด้วยตาเปล่า (Visible dye or color contrast dye) 3.ผสมกันระหว่างชนิดเรืองแสงและชนิดมองเห็นด้วยตาเปล่า (Dual mode penetrant)

น้ำยาแทรกซึมแบ่งตามชนิดของการล้างออกได้ 3 ชนิด ชนิดล้างออกด้วยน้ำ (Water washable) ชนิดล้างออกด้วยอิมัลซิฟายเออร์ (Post emulsifier) ชนิดล้างออกด้วยตัวทำละลาย (Solvent removable

ชนิดของ Developer แบบแห้ง (Dry developer) แบบเปียก (Wet developer)

ระยะเวลา Dwell time ที่เหมาะสมขึ้นอยู่กับ ชนิดของวัสดุ (type of malarial) กระบวนการผลิต (form) ชนิดของความไม่ต่อเนื่อง (type of discontinuity)

แสดงระยะเวลาในการแทรกซึมต่ำสุดตามมาตรฐาน ASME วัสดุ ลักษณะของงาน ชนิดของรอยบกพร่อง ระยะเวลาในการแทรกซึม (Dwell time) เวลาในการรอการสร้างภาพ (Developer time) อลูมิเนียม, แมกนีเซียม, เหล็ก, brass and bronze, ไททาเนียม และ high-temperature alloys กระบวนการหล่อ การเชื่อม Cold shuts, porosity, lack of fusion, cracks (all forms) 5 10 Wrought materials-extrusions, forgings, plate Laps, cracks (all forms) Carbide-tipped tools Lack of fusion, porosity, cracks พลาสติก กระบวนการทุกชนิด Cracks แก้ว เซรามิค

ระยะเวลา Developer time ที่เหมาะสม Developer time คือประมาณครึ่งหนึ่งของระยะเวลา Dwell time แต่ไม่ต่ำกว่า 10 นาที และไม่เกิน 60 นาที

ขั้นตอนการใช้วิธีล้างออกด้วยน้ำ ทำความสะอาด เคลือบสารแทรกซึม รอเวลา Dwell ล้างด้วยน้ำ ใช้ developer แบบเปียก ที่เป็น water based ทำให้แห้ง ใช้ developer แบบแห้ง ใช้ nonaqueous developer รอ Developer time ตรวจสอบ ทำความสะอาด หลังการตรวจสอบ

ขั้นตอนสารแทรกซึมที่ต้องเคลือบด้วยอิมัลซิฟายเออร์ แบบ Lipohilic ทำความสะอาด เคลือบสารแทรกซึม รอเวลา Dwell ล้างด้วยน้ำ เคลือบ developer แบบ aqueous ทำให้แห้ง เคลือบ developer แบบแห้ง เคลือบ developer แบบ nonaqueous ตรวจสอบ ทำความสะอาด หลังการตรวจสอบ เคลือบอิมัลซิฟายเออร์ แบบ Lipohilic

ขั้นตอนสารแทรกซึมที่ต้องเคลือบด้วยอิมัลซิฟายเออร์ แบบ Hydrophilic ทำความสะอาด เคลือบสารแทรกซึม รอเวลา Dwell ล้างด้วยน้ำ เคลือบ developer แบบ aqueous ทำให้แห้ง เคลือบ developer แบบแห้ง เคลือบ developer แบบ nonaqueous ตรวจสอบ ทำความสะอาด หลังการตรวจสอบ เคลือบอิมัลซิฟายเออร์ แบบ Hydrophilic

สารแทรกซึมชนิดกำจัดออกด้วยตัวทำละลาย ทำความสะอาด เคลือบสารแทรกซึม รอเวลา Dwell เคลือบด้วย developer แบบ nonaqueous ทำความสะอาด หลังการตรวจสอบ ตรวจสอบ เช็ดด้วยผ้าแห้ง เช็ดเบื้องต้นด้วยผ้าที่แห้ง เช็ดด้วยผ้าที่ทำให้เปียกชื้นด้วยตัวทำละลายพอหมาดๆ

ถังน้ำพร้อมหัว Nozzle ถัง Penetrant ถัง Emulsifier ถังน้ำพร้อมหัว Nozzle ตู้อบ ถัง Developer

Runchek testing element (cracked testing element)

การใช้อลูมิเนียม Quench crack ดังภาพ

Luminium element (ASME test bloc)

Hollowed plate reference testblock 2 following EN ISO 3452-3

การตรวจสอบจะใช้ test panel ดังภาพ

ข้อได้เปรียบของการตรวจสอบ 1. สามารถตรวจสอบได้กับวัสดุเกือบทุกชนิดที่ไม่มีรูพรุน 2. รูปร่างของชิ้นงานไม่เป็นข้อจำกัดในการตรวจสอบ 3. มีขั้นตอนการตรวจสอบที่เข้าใจได้ง่าย และง่ายต่อการปฏิบัติ 4. ใช้อุปกรณ์น้อยและมีราคาไม่แพง

ข้อจำกัด 1. รอยตำหนิที่ตรวจพบจะต้องเปิดสู่ผิวเท่านั้น 2. ต้องทำความสะอาดผิวชิ้นงานที่จะตรวจสอบมากกว่าการตรวจสอบโดยไม่ทำลายวิธีอื่น 3. ต้องรอระยะเวลา Dwell time และ Developer time 4. บริเวณที่ตรวจสอบจะมีกลิ่นหรือการฟุ้งกระจายของสารแทรกซึม