Cancer
CERVICAL CANCER
มะเร็งปากมดลูก สาเหตุที่แท้จริงของมะเร็งปากมดลูกยังไม่ทราบสาเหตุ แต่มีปัจจัยเสี่ยง ดังนี้ การเป็นโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ได้แก่ การติดเชื้อไวรัส Human papilloma virus (HPV) การสูบบุหรี่ การมีระบบภูมิต้านทานที่ลดลง เช่น จากการติดเชื้อ HIV,การ ได้รับยาที่กดภูมิต้านทาน การเปลี่ยนคู่นอนบ่อย การมีเพศสัมพันธ์ครั้งแรกตอนอายุน้อย การให้กำเนิดลูกหลายคน
มะเร็งปากมดลูก ระยะแรกจะไม่ค่อยมีอาการแสดง แต่การตรวจภายในเพื่อเช็คมะเร็งปากมดลูกจะ ตรวจพบเซลล์ผิดปกติได้ อาการแสดงที่พบได้แก่ อาการปวดท้องน้อย การมีเลือดออก ผิดปกติทางช่อง คลอด ตกขาวผิดปกติ
VIA Visual inspection with acetic acid PAP SMEAR Sensitivity 44-78 % 66-79% Specificity 49-86 % 91-96% ข้อดี see and treat 1. No age limit 2 Pathology confirmation 3. All types of CA. cervix ข้อด้อย 1. Over treat ( false positive in immature squamous metaplasia, inflammation ) 2. Not clearly seen at endocervical canal and SCJ 3. Only squamous cell CA can be detected 4. No pathology confirmation Cost Skill Time consuming
มะเร็งปากมดลูก การดูแลกลุ่มเสี่ยงต่อการเกิดโรคมะเร็งปากมดลูก 1. แนะนำการมีเพศสัมพันธ์อย่างปลอดภัย 2. ให้ไปตรวจภายใน (PAP smear) เพื่อค้นหาการติดเชื้อ HPVและการเปลี่ยนแปลงของเนื้อเยื่อปากมดลูก ช่อง คลอด 3. ไม่สูบบุหรี่ และหลีกเลี่ยงจากสถานที่ที่มีควันบุหรี่ 4. ส่งเสริมให้รับประทานอาหารที่มีประโยชน์ครบ 5 หมู่
มะเร็งปากมดลูก คำแนะนำการเฝ้าระวังมะเร็งปากมดลูก มะเร็งปากมดลูกมีโอกาสเป็นซ้ำ (recurrence) ส่วนใหญ่ร้อยละ70-89 จะ เกิดขึ้นในปีแรก หลังสิ้นสุดการรักษา จึง ควรติดตามทุก 3-4 เดือนในช่วง 2 ปีแรก และ ทุก 6 เดือน ต่อไปจนครบ 5 ปี
Breast Cancer
มะเร็งเต้านม สาเหตุที่แท้จริงของการเกิดมะเร็งเต้านม ยังไม่ทราบอย่างชัดเจน แนวทางการประเมิน 1. ประวัติ : ละเอียด เช่น อาการสำคัญ รวมถึงปัจจัยเสี่ยงอื่น ทั้ง ประวัติมะเร็งในครอบครัว ประวัติการมีประจำเดือน เป็นต้น 2. การตรวจร่างกาย ควรตรวจที่เต้านมทั้งสองข้าง รวมถึงรักแร้ และบริเวณคอ เพื่อหาต่อมน้ำเหลืองว่าผิดปกติหรือไม่
มะเร็งเต้านม 1. หลีกเลี่ยงปัจจัยเสี่ยง 2. การตรวจเต้านมด้วยตนเองเดือนละครั้ง วิธีการตรวจเต้านมด้วยตนเอง การดู การคลำ
มะเร็งเต้านม วิธีการคลำ ต้องให้ครอบคลุมเนื้อเยื่อเต้านมทั้งหมด ต้องมั่นใจว่า บริเวณขอบๆ และใต้หัวนมได้ถูกคลำอย่างทั่วถึง 3 นิ้วสัมผัส ใช้บริเวณกึ่งกลางนิ้วทั้งสาม คือนิ้วชี้ นิ้วกลาง นิ้วนาง บริเวณกึ่งกลางนิ้วทั้งสามจะสัมผัสได้ดีและกว้างกว่าส่วน ปลายนิ้ว โค้งฝ่ามือเพื่อให้นิ้วทั้งสามราบและสัมผัสกับเต้านม
มะเร็งเต้านม วิธีการกด 3 ระดับดังนี้ 1. กดเบาๆ เพื่อให้รูสึกถึงบริเวณใต้ผิวหนัง 2. กดปานกลาง เพื่อให้รูสึกถึงกึ่งกลางของเต้านม 3. กดหนักขึ้น เพื่อให้รูสึกถึงส่วนลึกใกล้ผนังปอด - สุดท้ายของการคลำให้กดหรือให้บีบหัวนมเบาๆเพื่อดูว่า มีสิ่งผิดปกติออกมาหรือไม่ห้ามบีบเค้นหัวนม
ขอบคุณค่ะ