ราคาเงาของแรงงาน และอัตราการคิดลดสำหรับสังคม

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
Advertisements

ทฤษฎีใหม่.
พรเทพ เบญญาอภิกุล คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
เศรษฐศาสตร์แรงงาน EC 471 การโยกย้ายแรงงาน
เศรษฐศาสตร์แรงงาน EC 471 บทบาทของรัฐบาลในตลาดแรงงาน
ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา Personal Income Tax
เศรษฐศาสตร์แรงงาน (ศ. 471) อุปสงค์แรงงาน
Supply-side Effects of Fiscal Policy.
รองศาสตราจารย์ ดร. ภาวดี ทองอุไทย สิงหาคม 2552
การประเมินโครงการลงทุน Capital Budgeting
การประมาณผลผลิตตามศักยภาพของประเทศไทย Parametric Estimation of Thailand’s Potential Output โดย ปฤษันต์ จันทน์หอม Potential Output.
Comparative advantage and the gains from trade ดร.วิธาดา อนุกูลวรรธกะ
เศรษฐศาสตร์แรงงาน EC 471 ประยุกต์ทฤษฎีอุปทานแรงงาน
รองศาสตราจารย์ดร. ภาวดี ทองอุไทย กรกฎาคม  แรงงานเข้าสู่ตลาดด้วยระดับการศึกษาและ ทักษะต่างกัน  หลังจากทำงาน ยังได้ฝึกอบรมเพิ่ม (on-the- job training)
บทบาทหญิงชายในระบบเศรษฐกิจ ศ. 363 Gender Economics
โลกาภิวัตน์ การค้าเสรี และการจ้างงานหญิงชาย
คณิตศาสตร์สำหรับการคิดภาระภาษี
เศรษฐศาสตร์สถาบันว่าด้วยกรรมสิทธิ์ (๑)
ชี้แจงการสัมมนากลุ่มย่อย
สมชัย จิตสุชน สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย 16 กุมภาพันธ์ 2550
การพัฒนาเศรษฐกิจ ความหมาย
ระบบเศรษฐกิจ.
ประโยคใจความสำคัญ ประโยคที่ครอบคลุมเนื้อหาทั้งหมดในย่อหน้านั้น
งานพนักงานราชการและลูกจ้าง
แนวทางการศึกษาด้านเศรษฐกิจ สังคม และเศรษฐศาสตร์
อุปทานของแรงงานในระดับบุคคล
ตลาดปัจจัยการผลิต (Markets for Factor Inputs)
Revision Problems.
นโยบายการคลัง Fiscal Policy
CHAPTER-15 “NATIONAL DEBT”
โครงการพัฒนาดัชนีการเกษียณอายุข้าราชการและพนักงานของรัฐ: รายงานเบื้องต้น โสรัจจ์ หงศ์ลดารมภ์ ศูนย์จริยธรรมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
เกษตรตามแนว ทฤษฏีใหม่
บทที่ 5 ทฤษฎีการผลิต การศึกษาด้านอุปทาน ทฤษฏีการผลิต (บทที่ 5)
ขั้นตอนที่ 4 การวิเคราะห์ความเสี่ยง สภาพแวดล้อมภายในและภายนอก
การขอจัดตั้งส่วนราชการ
สื่อการเรียนรู้ การตัดสินใจในการผลิต
บทที่ 8 การกำหนดราคาและผลผลิตในตลาดแข่งขันสมบูรณ์ (Price and Output Determination Under Perfect Competition) ความหมายของตลาด ลักษณะของตลาดแข่งขันสมบูรณ์
บทที่ 5 ทฤษฎีการผลิต (Production Theory)
FTA และผลกระทบต่อภาษีสรรพสามิต
การวางแผนการผลิตรวม ความหมาย วัตถุประสงค์และขั้นตอนการวางแผนการผลิตรวม
การคำนวณต้นทุนผลผลิต
Financial Management.
อุตสาหกรรมเด่นของไทย มูลค่าส่งออก (ล้านบาท)
การวิเคราะห์ผลตอบแทนการลงทุน
บทที่ 8 การภาษีอากร และการรักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ.
หลักการของทุนนิยม กำไร สูงสุด ราคาขายแพงสุด ต้นทุนต่ำสุด - ผูกขาดกีดกัน คู่แข่ง - ค่าแรงต่ำสุด - ภาษีต่ำสุด - ค่าเช่า ต่ำสุด.
นางสาวสุนันท์ อังเกิดโชค หัวหน้าสำนักงานจังหวัดพระนครศรีอยุธยา
ชูศักดิ์ วิทยาภัค คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
3 ลักษณะของประเทศด้อยพัฒนาหรือกำลังพัฒนา
เศรษฐศาสตร์ทรัพยากรน้ำ
นโยบายการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนในโรงเรียนขนาดเล็ก
การใช้ CAPM ประมาณการต้นทุนของเงินทุน
การปรับปรุงวิธีการคิดต้นทุนงานบริการวิชาการ
ปรับค่าแรง300 บาทมีผลกระทบ เศรษฐกิจประเทศไทยจริง?
บทที่ 17 อิทธิพลของสถานการณ์
Lecture 14 ประสิทธิภาพของการบริโภคจาก Edgeworth’s Box Diagram
ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทนปัจจัยการผลิต (ค่าเช่า, ดอกเบี้ย, ค้าจ้าง ,กำไร) ปัจจัยการผลิต (ที่ดิน, ทุน, แรงงาน, ผู้ประกอบการ)
ทฤษฎีเฮิคเชอร์และโอลิน
เพื่อช่วยหาความสัมพันธ์ของ ข้อมูลที่เกี่ยวข้อง และกำหนด เขตของพื้นที่เป้าหมาย และ ขอบเขตงาน รูปแบบ เดิม แผ่นใส ซ้อนทับ ปัจจุบัน GIS.
ทรัพยากรในทางเศรษฐศาสตร์
สรุปการฝึกอบรม วันแรก แรงบันดาลใจ ความ คาดหวัง วิเคราะห์สถานการณ์ แรงงานจากวิกฤติ เศรษฐกิจ กรณีศึกษาที่เกิดขึ้น จริง ประวัติศาสตร์แรงงาน ไทย วันที่สอง.
ต้นทุนการผลิต.
การจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อการมีงานทำ จังหวัดชุมพร.
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
บทบาทของข้อมูลการตลาด
รูปร่างเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ตัวอย่าง : ประสิทธิภาพในการผลิต คำถาม : ให้การผลิตสินค้าชนิดหนึ่งมีผู้ผลิต 2 ราย ที่มี Production function เหมือนกันดังนี้ q = K 0.25 L 0.75 ราย A ใช้
การเลือกสถานที่ตั้งโรงงาน
ผลสัมฤทธิ์ของปราชญ์ : กรณีประเมินผล ศูนย์เครือข่ายปราชญ์ชาวบ้าน
เงินเฟ้อ และการว่างงาน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ราคาเงาของแรงงาน และอัตราการคิดลดสำหรับสังคม มาโนช โพธาภรณ์ ๑๘ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๕

ราคาเงาของแรงงาน (shadow wage rate) ราคาเงาที่เหมาะสมควรสะท้อนต้นทุนค่าเสียโอกาสของสังคมต่อการใช้แรงงาน ในประเทศกำลังพัฒนา นักวิชาการเชื่อว่าตลาดแรงงานแบ่งออกเป็นสองส่วน (dualism) คือ ตลาดแรงงานในเมืองและตลาดแรงงานในชนบท ในชนบทมีการว่างานอย่างเปิดเผย การว่างงานแฝง และการว่างงานตามฤดูกาล เมื่อมีโครงการของรัฐในเขตเมืองทำให้เกิดการจ้างงาน โดยแรงงานดังกล่าวมาจากภาคชนบื คำถามคือต้นทุนค่าเสียโอกาส หรือราคาเงาที่ควรใช้ในการประเมินโครงการควรเป็นเท่าใด

ราคาเงาของแรงงาน (ต่อ) ๒ แนวทาง แนวทางแรก ในกรณีที่มีการว่างงาน หรือการทำงานไม่เต็มที่ในภาคชนบท แรงงานที่นำเข้ามาใช้อาจไม่ก่อให้เกิดการสูญเสียผลผลิตใดๆ หรืออาจสูญเสียน้อยมาก ดังนั้นต้นทุนค่าเสียโอกาสของแรงงานจึงมีค่าเท่ากับศูนย์หรือน้อยมาก (สมมติให้เท่ากับ M) แม้โครงการรัฐจะมีการจ่ายค่าแรงในอัตราที่สูงแต่ควรใช้ราคาเงาข้างต้นในการประเมินต้นทุนของโครงการ แนวคิดนี้มาจาก Arthur Lewis

ราคาเงาของแรงงาน (ต่อ) แนวทางที่สอง ความเห็นแย้งจาก Todaro และ Harris หากค่าจ้างในเมืองต่างจากชนบท จะมีการโบกย้ายแรงงานโดยทุกๆตำแหน่งที่ว่าง ๑ คนจะมีคนชนบทโยกย้ายมามากกว่า ๑ คน โดยคนงานแต่ละคนมีความคาดหวังถึงโอกาสที่ตนจะได้งาน การโดยย้ายจะสิ้นสุดลงเมื่อรายได้ที่คนงานคาดหวังจะได้รับ* มีค่าเท่ากับค่าจ้าง (โดยที่ *รายได้ที่คนงานคาดหวังจะได้รับ = ค่าจ้างในเมือง X ค่าความน่าจะเป็นในการได้งาน) ดังนั้นค่าเสียโอกาสไม่เพียงแต่จะวัดจากผลผลิตของคนงานคนนั้นจะทำได้ในชนบท แต่ต้องรวมถึงผลผลิตของคนงานอื่นๆด้วย (ที่ออกมาแต่ไม่ได้งาน) ตามข้อเขียนของ Todaro และ Harris ต้นทุนค่าเสียโอกาสของแรงงานมีค่าเท่ากับอัตราค่าจ้างในตลาดแรงงานในเมือง (สมมติเท่ากับ w)

ราคาเงาของแรงงาน (ต่อ) แนวทางอื่นๆ ให้ราคาเงาอยู่ระหว่าง m และ w (Little & Mirrless และ UNIDO) ราคาเงาของแรงงานในประเทศไทย Dualism ไม่ใช่ลักษณะสำคัญของตลาดแรงงานไทย (เช่น อ เยาวเรศ ทับพันธุ์) ตลาดแรงงานเชื่อมประสานอย่างมีประสิทธิภาพระหว่างเมืองและชนบท การว่างงานที่ยาวนานมีน้อยมาก ถึงแม้จะมีการเปลี่ยนรูปแบบการใช้แรงงานระหว่างฤดูฝนและแล้ง (โดยเอาเด็กและผู้หญิงมาทำในฤดูฝน และถอนตัวอย่างสมัครใจในฤดูแล้งไปทำงานนอกภาคเกษตร หรือในเมือง) ไม่มีเหตุผลที่สนับสนุนให้ใช้ราคาเงาอื่นที่ไม่ใช่ราคาค่าจ้างตลาดในโครงการของรัฐ

อัตราการคิดลดสำหรับสังคม (social rate of discount) มี ๒ แนวทาง Social rate of time preference (SRTP) หรืออัตราการชดเชยค่าบริโภคต่างเวลาของสังคม ราคาของการอคอย Social opportunity cost rate (SOCR) หรืออัตราค่าเสียโอกาส ค่าเสียโอกาสจากการที่รํฐนำเอาทรัพยากรของสังคมมาใช้กับโครงการรัฐ ทำให้เอกชนไม่สามารถเอาไปใช้ในการลงทุนภาคเอกชน