โครงการเขื่อนคลองท่าด่าน อันเนื่องมาจากพระราชดำริ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สนามกีฬา.
Advertisements

ลองคิดดู 1 มวล m1 และมวล m2 วิ่งเข้าชนกันแล้วสะท้อนกลับทางเดิม ความเร่งหลังชนของมวล m1 และ m2 เท่ากับ 5 m/s2 และ 2 m/s2 ตามลำดับ ถ้า m1 มีมวล 4 kg มวล.
แนวทางการประเมินผลการปฏิบัติราชการ ตาม พ. ร. บ
RESULTS FOR MAE KUANG DAM
Chapter 4 Well logging methods and interpretation
Department of Computer Engineering, Khon Kaen University
เทคนิคการเชื่อมไฟฟ้า
ภาควิชา วิศวกรรมโลหการ
ขั้นตอนการออกแบบทาง.
แผ่นดินไหว.
คุณสมบัติของคอนกรีตที่แข็งตัวแล้ว (Hardened Concrete)
Concrete Technology 12 Feb 2004
รายงาน เรื่อง ดินถล่ม เสนอ อาจารย์วรรณา ไชยศรี.
1 บทที่ 7 สมบัติของสสาร. 2 ตัวอย่าง ความยาวด้านของลูกบาศก์อลูมิเนียม มีค่าเท่าใด เมื่อน้ำหนักอลูมิเนียมมีค่าเท่ากับ น้ำหนักของทอง กำหนดความหนาแน่น อลูมิเนียม.
กลศาสตร์ของไหล (Fluid Mechanics)
น้ำและมหาสมุทร.
ตัวอย่างปัญหาการเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์
ระบบอนุภาค.
การศึกษาและพัฒนาอาคารวัดปริมาณน้ำ ที่มีระดับต่างคงที่ (CHO)
การออกแบบงานชลประทานเบื้องต้น (สำหรับบุคลากรในสายสนับสนุนกรมชลประทาน)
มารู้จักเขื่อนใต้ดินกันเถอะ
โครงสร้างปัจจุบัน สำนักสำรวจด้านวิศวกรรมและธรณีวิทยา
ผลกระทบของแผ่นดินไหวที่มีต่อเขื่อน ในประเทศญี่ปุ่น
1. งานปรับปรุงฝายคลองน้ำเขียว
สถานที่ตั้ง : หมู่ที่ 7 ตำบลรือเสาะ อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส
สถานที่ตั้ง : หมู่ที่ 2 ตำบลปากล่อ อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี
เครื่องมือเทคโนโลยีทางภูมิศาสตร์
ดิจิตอลกับไฟฟ้า บทที่ 2.
ส่วนประกอบของสกาดา 1. Field Instrumentation 2. Remote Station
และคุณสมบัติอุปกรณ์การสร้างฉาก โดย อาจารย์ ศิริมงคล นาฏยกุล
Lab 4: Kunzelstab Penetration Test
Soil Mechanics Laboratory
ลมและความชื้น By Arjan Ukrit Chaimongkon Demonstration School
สัณฐานและโครงสร้างของโลก
โรงไฟฟ้าพลังน้ำ Hydro Power Plant.
โครงการเครื่องวัดระดับ ความสูงคลื่น
ประกาศกรมธุรกิจพลังงาน เรื่อง การวางระบบท่อก๊าซปิโตรเลียมเหลว และการติดตั้งอุปกรณ์เข้ากับถังเก็บและจ่ายก๊าซ ในสถานที่ใช้ก๊าซปิโตรเลียมเหลว พ.ศ
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรมเรื่อง มาตรการคุ้มครองความปลอดภัยในการประกอบกิจการโรงงาน ขุด ตัก ลอกหรือดูดทรายหรือดินในที่ดินกรรมสิทธิ์ สำหรับใช้ในการก่อสร้าง.
การสำรวจกันเขต เป็นการสำรวจเพื่อกำหนดตำแหน่งทางราบ เพื่อใช้กำหนดแนวเขตของรายละเอียดงานที่ใช้ประโยชน์ทางด้านการชลประทาน สำหรับใช้ประกอบการจัดซื้อที่ดินของโครงการชลประทาน.
ที่ดินเพื่อกิจการชลประทาน
ความรู้พื้นฐานด้านทรัพยากรน้ำ
แม่เหล็กไฟฟ้า Electro Magnet
หลักการประหยัดพลังงาน และเครื่องมือวัดการใช้พลังงาน
ความปลอดภัยในการปฏิบัติงาน
ตัวต้านทาน ทำหน้าที่ ต้านทานและจำกัดการไหลของกระแสไฟฟ้าในวงจร
RIVER OUTLET AND CANAL OUTLET
โครงการออกแบบวางผังแม่บท มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
เศรษฐศาสตร์ทรัพยากรน้ำ
Magnetic Particle Testing
6.11 น้ำใต้ดิน 1. ชั้นของวัตถุพรุนใต้ระดับน้ำใต้ดิน Zone of Saturation 1.1 Aquifer = วัตถุพรุนมีน้ำบรรจุเต็ม สามารถเคลื่อนย้ายได้เพียงพอในแง่ Economic.
ระบบตรวจวัดแผ่นดินไหว ในประเทศไทย Thailand Seismic Observatories
ตะบันน้ำเพื่อนโคบาล (เครื่องสูบน้ำพลังน้ำ)
7.5 วิธีการวัดน้ำท่า(streamflow measurement)
“ทช.โปร่งใส ใส่ใจคุณธรรม นำความซื่อสัตย์ ขจัดการทุจริต”
แผนที่และเครื่องมือทางภูมิศาสตร์
ดินถล่ม.
โครงการเสริมสร้างความรู้ด้านชลประทาน
วิทยาศาสตร์ ว ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โดยครูศรีไพร แตงอ่อน.
CONTENT Concept Design Install Location System Specification
โลกและการเปลี่ยนแปลง
11.7 วิธีการศึกษา Soil Erosion
จุดเด่นของระบบ Versus
หน่วยการเรียนรู้ที่ 8 เอกภพและโลก( 3)
การวัดปริมาณน้ำมันในถังเก็บน้ำมันแนวตั้งในคลังน้ำมัน
ถังเก็บน้ำมันใต้พื้นดินและถังเก็บน้ำมันบนดิน
การตรวจอากาศชั้นบนด้วยเครื่องวิทยุหยั่งอากาศ Radiosonde
4.1 Borehole environment สภาวะความดันระหว่างการเจาะและการหยั่งธรณีในหลุมเจาะ เกิดจากปัจจัยสองส่วนคือ - ความดันในชั้นหิน - ความดันของคอลัมน์ของน้ำโคลน.
Class Polyplacophora.
สถานีอุตุนิยมวิทยาตาก
การบรรยายพิเศษ เรื่อง การประยุกต์ใช้สาร Isotope เพื่อตรวจวัด การรั่วซึมของเขื่อน ภายใต้ โครงการ IAEA/RCA The Use of Isotope in Dam Safety and Dam Sustainability.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โครงการเขื่อนคลองท่าด่าน อันเนื่องมาจากพระราชดำริ

Plan View

Profile

Dam Instruments ระบบวัดพฤติกรรมในเขื่อน วัดการไหลซึม วัดการเคลื่อนตัว วัดอุณหภูมิ Piezometer Observation Well Seepage Flow Meter Survey Station Joint Meter Pendulum Surface Monument Inclinometer Thermocouple Dam Instruments

สรุปผลงานติดตั้งเครื่องมือวัดพฤติกรรมเขื่อน เครื่องมือวัด จำนวนการติดตั้ง RCC Dam Saddle Dam กลุ่มเครื่องมือวัดความดันน้ำ Piezometer 106 18 Observation Well 13 6 กลุ่มเครื่องมือวัดการเคลื่อนตัว Pendulum (Inverted & Direct) 12 - Jointmeter 100 - Level & Position Survey Station 200 - Permanent Benchmark 7 8 Inclinometer - 2 Surface Monument - 19 กลุ่มเครื่องมือวัดอุณหภูมิ Thermocouple 139 - Dam Instruments

กลุ่มวัดการไหลซึม 1. PIEZOMETER วัดความดันน้ำ หน้าที่ วัดความดันน้ำ ลักษณะเครื่องมือ เป็นมาตรวัดแบบ Vibrating Wire อ่านค่าโดยใช้ Portable Data Logger เชื่อมต่อกับ Terminal Box โดยที่ RCC Dam มี 3 Terminal Box ส่วน Saddle Dam มี 1 Terminal Box จำนวนที่ติดตั้ง ใต้ฐานรากเขื่อน RCC Dam 106 ตำแหน่ง ใต้ฐานรากและในตัวเขื่อน Saddle Dam 18 ตำแหน่ง Dam Instruments

กลุ่มวัดการไหลซึม 2. Observation Well วัดระดับน้ำใต้ดินทางด้านท้ายน้ำ หน้าที่ วัดระดับน้ำใต้ดินทางด้านท้ายน้ำ ลักษณะเครื่องมือ เจาะหลุมลึก 10-30 เมตร แล้วฝังท่อพรุนไว้เพื่อ รับน้ำเข้าท่อ วัดค่าโดยหย่อนหัววัดลงไปในบ่อ จำนวนที่ติดตั้ง ท้ายเขื่อน RCC Dam 13 ตำแหน่ง ท้ายเขื่อน Saddle Dam 6 ตำแหน่ง Dam Instruments

กลุ่มวัดการไหลซึม RCC Dam Saddle Dam 3. Seepage Flow Meter หน้าที่ วัดอัตราการไหลซึมผ่านตัวเขื่อนและฐานราก ลักษณะเครื่องมือ แผ่นสแตนเลสทำเป็นฝายแบบ V-Notch Weir วัดค่าโดยอ่านจากสเกลเพื่อหาความสูงของน้ำ Saddle Dam จำนวนที่ติดตั้ง ใน Gallery RCC Dam 80 ตำแหน่ง ท้ายเขื่อน Saddle Dam 1 ตำแหน่ง Dam Instruments

กลุ่มวัดการเคลื่อนตัว 1. Survey Monitoring Station หน้าที่ วัดการเคลื่อนตัวของคอนกรีตทั้งแนวดิ่งและแนวราบ ลักษณะเครื่องมือ หมุดเหล็กไร้สนิม วัดค่าโดยใช้กล้องสำรวจทางวิศวกรรม จำนวนที่ติดตั้ง Survey Station ติดตั้งบนผิวเขื่อนและสันเขื่อน 100 ตำแหน่ง ส่วน Permanent Benchmark ติดตั้งด้านท้ายน้ำจำนวน 13 ตำแหน่ง Permanent Benchmark Survey Station Dam Instruments

กลุ่มวัดการเคลื่อนตัว 2. Joint Meter หน้าที่ วัดการเคลื่อนตัวของคอนกรีตแต่ละบล็อค ลักษณะเครื่องมือ วัดค่าโดยใช้ Digital Depth Gauge อ่านค่า ณ ตำแหน่งที่ติดตั้งนั้นๆ จำนวนที่ติดตั้ง ติดตั้งบริเวณรอยต่อของ RCC Dam ทั้งใน Gallery และสันเขื่อน จำนวน 100 ตำแหน่ง Dam Instruments

กลุ่มวัดการเคลื่อนตัว Inverted Pendulum Direct Pendulum 3. Pendulum Dam Instruments

กลุ่มวัดการเคลื่อนตัว หน้าที่ วัดการเอียงตัวและการเลื่อนไถลของเขื่อนคอนกรีต ลักษณะเครื่องมือ วัดค่าโดยใช้กล้องส่องชนิด Optical Microscope ตรงตำแหน่งที่ติดตั้ง วัดค่าแบบอัตโนมัติโดยใช้คอมพิวเตอร์เชื่อมต่อกับ Terminal Box จำนวน 3 ตำแหน่ง Reading (Manual) จำนวนที่ติดตั้ง ติดตั้ง Direct Pendulum และ Inverted Pendulumใน RCC Dam จำนวนชนิดละ 6 ตำแหน่ง Dam Instruments Reading (Automatic)

กลุ่มวัดการเคลื่อนตัว 4. Surface Monument หน้าที่ วัดการเคลื่อนตัวของผิวเขื่อนดิน ลักษณะเครื่องมือ หมุดเหล็กไร้สนิม วัดค่าโดยใช้กล้องสำรวจทางวิศวกรรม จำนวนที่ติดตั้ง ติดตั้งที่ Saddle Dam บนสันเขื่อนและ ลาดเขื่อนด้านท้ายน้ำ จำนวน 19 ตำแหน่ง Dam Instruments

กลุ่มวัดการเคลื่อนตัว 5. Inclinometer & Magnetic Settlement Ring เอาภาพตอนวัดค่ามาใส่ด้วยเด้อ Inclinometer Magnetic Settlement Ring

กลุ่มวัดการเคลื่อนตัว หน้าที่ วัดการเคลื่อนตัวของมวลดินภายในตัวเขื่อนทั้งในแนวราบและแนวดิ่ง ลักษณะเครื่องมือ ติดตั้งท่อนำภายในตัวเขื่อนในแนวดิ่งโดยให้ปลายล่างฝังลงในชั้นหิน การเคลื่อนตัวในแนวราบ วัดค่าโดยหย่อนหัววัด (Inclinometer Probe) ลงไปในท่อนำ การเคลื่อนตัวในแนวดิ่ง วัดค่าโดยหย่อนหัววัด Magnetic Sensor Probe ลงไปในท่อนำ ติดตั้งที่ Saddle Dam จำนวน 2 ตำแหน่ง Dam Instruments

กลุ่มวัดอุณหภูมิ 1. Thermocouple วัดอุณหภูมิภายในตัวเขื่อนคอนกรีต หน้าที่ วัดอุณหภูมิภายในตัวเขื่อนคอนกรีต ลักษณะเครื่องมือ ติดตั้งหัววัดภายในตัว RCC Dam แล้วลากสายสัญญาณไปยัง Terminal Box และทำการอ่านค่าโดยใช้คอมพิวเตอร์เชื่อมต่อ ซึ่งมีอยู่จำนวน 3 ตำแหน่ง จำนวนที่ติดตั้ง ติดตั้งภายในตัว RCC Dam จำนวน 139 ตำแหน่ง Dam Instruments

จบการนำเสนอ 27 February 2006