บทที่ 8 ตัวดำเนินการ และ นิพจน์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
รายวิชา ง40102 หลักการแก้ปัญหาและการโปรแกรม
Advertisements

ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการเขียนโปรแกรม
โดยอาจารย์ศิริพร ศักดิ์บุญญารัตน์ ครูชำนาญการ โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์
บทที่ 2 ภาษาปาลคาลเบื้องต้น.
ประเภทของข้อมูลและตัวดำเนินการ Data Types and Operator (บทที่ 3)
BC320 Introduction to Computer Programming
Introduction to C Programming
Control Statement if..else switch..case for while do-while.
User Defined Simple Data Type
บทที่ 3 ตอนที่ 1 คำสั่งเงื่อนไขและการตัดสินใจ(p
ข้อผิดพลาดของโปรแกรม และตัวดำเนินการ
หลักการโปรแกรม 1 Lecture 3: ตัวแปร, นิพจน์คณิตศาสตร์, การคำนวณทางคณิตศาสตร์,การดำเนินการกับสายอักขระ.
ชนิดของข้อมูลและตัวดำเนินการ
บทที่ 2 Operator and Expression
ภาษาปาสคาล บทนำ.
Visual Basic 6 By Samaporn Yendee VB6.
Lab 3: คำสั่งพื้นฐานสำหรับการรับและการแสดงผลข้อมูล
Repetitive Statements (Looping)
โครงสร้างคำสั่งแบบเลือก (Selection)
ภาษาปาสคาล ผู้สร้าง Dr.Niklaus Wirth ปี 2513
คำสั่งเงื่อนไขและการควบคุม
การเขียนโปรแกรม ASP การประกาศตัวแปร
ตัวดำเนินการ (Operator) คือสัญลักษณ์หรือเครื่องหมายแทนการกระทำกับข้อมูล เพื่อบอกให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทราบว่าจะต้องดำเนินการใดกับข้อมูลใดบ้าง แบ่งออกเป็น.
หน่วยที่ 5 ตัวดำเนินการ (Operators)
การจัดการข้อมูลด้วยคอมพิวเตอร์
Operators ตัวดำเนินการ
ภาษามาตรฐานสำหรับนิยามข้อมูล และการใช้ข้อมูล
ตัวอย่างการใช้คำสั่ง IF_THEN
คำสั่ง Repeat...Until คำสั่งควบคุมให้ทำงานซ้ำ
ตัวอย่างคำสั่ง FOR.
การเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ ด้วยภาษาจาวา
บทที่ 3 ตัวดำเนินการ และ นิพจน์
บทที่ 9 การรับและแสดงผลข้อมูล
บทที่ 2 ประเภทข้อมูล (DATA TYPE)
การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์และอัลกอริธึม
ตัวแปรและชนิดข้อมูล (Variables and Data Types)
หน่วยที่ นิพจน์ในภาษา C
ตัวแปร (variable) ตัวแปร เป็นชื่อที่เราตั้งขึ้น เพื่อให้คอมพิวเตอร์เตรียมที่ใน หน่วยความจำไว้สำหรับเก็บข้อมูลที่นำไปประมวลผล การตั้งชื่อตัวแปร ชื่อตัวแปรในภาษา.
คำสั่งควบคุมการทำงาน
การคำนวณทางคณิตศาสตร์ ตัวดำเนินการ
ตัวแปร (Variable) คือ ชื่อที่ตั้งขึ้นเพื่อเก็บข้อมูลในหน่วยความจำ สามารถเก็บข้อมูลชนิดใดก็ ได้ ลักษณะที่สำคัญ ค่าที่จัดเก็บ เมื่อปิดโปรแกรมข้อมูลจะหายไป.
ตัวดำเนินการ(Operator)
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
ชนิดของข้อมูล ตัวแปร และตัวดำเนินการ
การแปลงชนิดข้อมูลของตัวแปร
นิพจน์และตัวดำเนินการ
ชนิดของข้อมูล ตัวแปร และตัวดำเนินการ
โครงสร้างแบบลำดับ คำสั่ง x คำสั่ง y.
คำสั่งควบคุมการทำงานของ ActionScripts
ตัวแปร ชนิดข้อมูล และค่าคงที่
TURBO PASCAL OUTLINE 1. บทนำเกี่ยวกับการเขียนโปรแกรมภาษาปาสคาล
Week 2 Variables.
Computer Programming for Engineers
พื้นฐานการเขียนโปรแกรม
บทที่ 10 คำสั่งควบคุม OUTLINE 1. คำสั่งแบบเรียงลำดับ (Sequence)
บทที่ 9 เซต (Set) เซต หมายถึงกลุ่ม ฝูง พวก ชุด ของสิ่งใดสิ่งหนึ่ง เช่น เพศ ประกอบด้วย หญิง และ ชาย รายการที่อยู่ในเซต เรียกว่าสมาชิก เซตย่อย (Subset) คือ.
คำสั่งควบคุมขั้นตอน Flow control statements
1 Special Operators Special Operators ตัวดำเนินการพิเศษ Increment and decrement operators Conditional Operator.
Operators ตัวดำเนินการ
คำสั่งรับค่าและฟังก์ชันทางคณิตศาสตร์
ตัวดำเนินการ และนิพจน์คณิตศาสตร์
ชนิดของข้อมูลแบบพื้นฐาน 1. จํ านวนเต็ม (Integer Data Type) 2. จํ านวนจริง (Real Data Type) 3. ตัวอักขระ (Character Data Type) 4. ตรรกศาสตร ? (Boolean.
ตัวแปร Array แบบ 1 มิติ การเขียนโปรแกรมแบบวนซ้ำ
CONDITION Computer Programming Asst. Prof. Dr. Choopan Rattanapoka.
การกระทำทางคณิตศาสตร์
ตัวแปร และชนิดข้อมูล.
การรับและแสดงผลข้อมูล (Input/Output)
1 บทที่ 5 โปรแกรมย่อย Part II Function. 2 ฟังก์ชัน (Function) เป็นชุดคำสั่งย่อยที่มีหน้าที่เฉพาะอย่างใดอย่างหนึ่ง เหมือนกับ procedure สามารถมีการรับส่งค่าข้อมูล.
บทที่ 5 โปรแกรมย่อย.
CHAPTER 2 Operators.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทที่ 8 ตัวดำเนินการ และ นิพจน์ OUTLINE 1. ตัวดำเนินการ (Operator) 2. นิพจน์(Expression) 3. คำสั่งเชิงเดียว และ คำสั่งเชิงกลุ่ม

ตัวดำเนินการ (Operator) เทียบได้กับคำสั่งให้ดำเนินกรรมวิธีกับข้อมูล ทางคณิตศาสตร์ บูลีน การเปรียบเทียบ และ อื่นๆ

ตัวดำเนินการ (Operator) ตัวดำเนินการทางคณิตศาสตร์ (arithmetic operator) มี +, -, *, /, div, mod ตัวดำเนินการเปรียบเทียบ (relational operators) ตัวดำเนินการบูลีน (boolean operator) ตัวดำเนินการสตริง (string operator)

โปรแกรมการใช้ Operator PROGRAM operator1; USES Wincrt; begin writeln('+: ',25+50); writeln('/: ',25/50:5:2); writeln('MOD: ',50 mod 3); writeln('DIV: ',50 div 3); end.

ตัวดำเนินการเปรียบเทียบ มีค่าที่ต้องการเปรียบเทียบอยู่ระหว่างตัวดำเนินการ ผลลัพธ์เป็นบูลีน คือ false , true >, <, >=, <=, <>, in ‘E’ in [‘a’,’e’,’i’,’o’,’u’] 2 < 3

ตัวดำเนินการบูลีน ตัวดำเนินการบูลีน มี 4 ตัว and, or, xor, not มีการทำงานเหมือนระดับบิต ต่างตรงที่ สองข้างของตัวดำเนินการเป็นบูลีน เช่น (a>13) and (b < 5) ผลลัพธ์มี จริงกับเท็จ

ตัวดำเนินการบูลีน Aมีค่า B มีค่า A and B A or B A xor B not A T T T T F F T F F T T F F T F T T T F F F F F T

ลำดับการทำงานของตัวดำเนินการ 1. @, not 2. *, /, div, mod, and 3. +, -, or, xor 4. =, <> , < , > , <= , >= , IN ถ้ามีฟังก์ชัน หรือ วงเล็บให้ทำก่อน

นิพจน์คณิตศาสตร์ นิพจน์ อาจเป็น ตัวแปร ค่าคงที่ หรือ ฟังก์ชัน นิพจน์ทางคณิตศาสตร์ คือ นิพจน์ที่ใช้ตัวดำเนินการทางคณิตศาสตร์ +, - , * , / , div , mod โดยข้อมูลต้องเป็นตัวเลข หากมีการผสมระหว่างเลขจำนวนเต็ม และ จำนวนจริง เลขจำนวนเต็มจะถูกเปลี่ยนเป็นจำนวนจริงโดยอัตโนมัต หากต้องการเก็บค่าของเลขจำนวนจริงไว้ในเลขจำนวนเต็มต้องใช้ ฟังก์ชัน trunc(R) round( R) ก่อน

การสร้างนิพจน์ทางคณิตศาสตร์ 5(num+total ) ===> 5 * (num + total) (x2 +y2)2 ====> SQR(x*x + y*y) หรือ SQR(SQR(x)+SQR (y)) -b+ b2- 4ac ===> (-b+SQRT(SQR(b)-4*a*c))/ (2*a) 2a

ตัวอย่างนิพจน์ทางคณิตศาสตร์ PROGRAM expression1; USES Wincrt; VAR a,b,tem1,tem2 :integer; c,d,tem3 : real; BEGIN clrscr; a:= 27; b:=4; c:= 56.2; d:= 7.0;

ตัวอย่างนิพจน์ทางคณิตศาสตร์ Writeln ('int,int: ', A+B:15, a-b:15, a*b:15, a/b:25); Writeln('int,rel: ',a+c:18, a-c:18, a*c:18, a/c:18); Writeln('rel,int: ',d+b:18,d-b:18,d*b:18,d/c:18); Writeln('rel,rel: ',c+d:18,c-d:18,c*d:18,c/d:18); tem1 := a div b; tem2 := a mod b; tem3 := a div b; Writeln (tem1:20,tem2:20,tem3:20) End.

นิพจน์แบบบูลีน Count < total นิพจน์แบบบูลีน มีค่า จริงกับเท็จเท่านั้น เพราะฉะนั้นต้องประกาศตัวแปลงแบบบูลีน ตัวอย่าง: VAR count,total :integer; length,height : real; done : boolean: Count < total (count=total) and(length>height) and done (count mod total =0) or(count <= 100)

นิพจน์แบบบูลีน PROGRAM operator1; USES Wincrt; VAR a, b : real; flag : boolean; begin write('Enter a:'); Readln (a); write('Enter b:'); Readln (b); flag := a < b; Writeln(flag); end.

คำสั่งเชิงเดียว และ คำสั่งเชิงกลุ่ม คำสั่งเชิงเดียว คือ ประโยคคำสั่ง 1 คำสั่ง คำสั่งเชิงกลุ่ม (compound statement) เมื่อต้องการให้มีคำสั่งหลายประโยคหรือ เป็นกลุ่มคำสั่งให้จัดอยู่ในคอมเปานด์ มีรูปแบบดังนี้ begin statement 1; : statement N end