5.3 การใช้จ่ายของรัฐ การเก็บภาษี และนโยบายเศรษฐกิจ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา Personal Income Tax
Advertisements

Supply-side Effects of Fiscal Policy.
การประมาณผลผลิตตามศักยภาพของประเทศไทย Parametric Estimation of Thailand’s Potential Output โดย ปฤษันต์ จันทน์หอม Potential Output.
เอกสารประกอบการสอนเสริม เศรษฐศาสตร์วิเคราะห์
การคลังและนโยบาย การคลัง
เศรษฐศาสตร์มหภาค EC 312 บทนำ: Introduction
บทที่ 4 อุปทานของเงิน (Money Supply) และประเด็นสำคัญอื่น ๆ
การอธิบายด้วยสมการ การอธิบายด้วยกราฟ กรณีของประเทศไทย
ประสิทธิภาพการใช้นโยบายภายใต้การวิเคราะห์แบบจำลอง IS-LM
วิกฤตเศรษฐกิจ และ ผลกระทบต่อแรงงาน
คณิตศาสตร์สำหรับการคิดภาระภาษี
กลไกราคา การเกิดกลไกราคา คือ ตัวกำหนดราคาสินค้าว่าจะถูกหรือแพง
การกำหนดนโยบายการคลังและบูรณาการของ 4 หน่วยงานหลัก ( )
Group 1 Proundly Present
ทฤษฎีและนโยบายการเงิน Monetary Theory and Policy
อุปสงค์ อุปทาน และ การกำหนดราคา Applications
ทฤษฎีและนโยบายการเงิน Monetary Theory and Policy
ทฤษฎีและนโยบายการเงิน Monetary Theory and Policy
Revision Problems.
ทฤษฎีและนโยบายการเงิน Monetary Theory and Policy
ทฤษฎีและนโยบายการเงิน Monetary Theory and Policy
ทฤษฎีและนโยบายการเงิน Monetary Theory and Policy
ทฤษฎีและนโยบายการเงิน Monetary Theory and Policy
นโยบายการคลัง Fiscal Policy
CHAPTER-15 “NATIONAL DEBT”
โครงสร้างภาษีประเทศไทย
บทที่ 7 การวิเคราะห์ราคา สินค้าเกษตรและอาหาร
หน่วยที่ 3 การกำหนดขึ้นเป็นราคาดุลยภาพ
หน่วยที่ 3 การกำหนดขึ้นเป็นราคาดุลยภาพ
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ (Elasticity of Demand)
Topic 11 เงินเฟ้อ เงินฝืด การว่างงาน
ดุลยภาพของตลาด (Market Equilibrium)
เอกสารประกอบคำบรรยาย วิชา เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น Introduction to Economics Lecturer : Orasa Tuntiyawongsa Faculty of Applied Arts. KMITNB
บทที่ 8 นโยบายการคลัง(Fiscal Policy)
ปัญหาเศรษฐกิจที่สำคัญและแนวทางแก้ไข
ธุรกิจในโลกาภิวัตน์ Globalizing Business.
เงินเฟ้อ เงินฝืด และการว่างงาน
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์และอุปทาน Elasticity of Demand and Supply
การเงินและการธนาคาร.
การบริโภค การออม และการลงทุน
เงินเฟ้อ และเงินฝืด.
NIDA Macro Forecast แนวโน้มเศรษฐกิจไทยในปี 2013 – 2014 โดยนิด้าโมเดล
นโยบายการคลัง.
การงบประมาณ (Budget).
บทที่ 1 หลักการและหน้าที่ทางการเงิน
บทที่ 8 การภาษีอากร และการรักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ.
ด้านสัญญาณ เตือน คำอธิบาย ด้านการผลิต ภาคการเกษตร สาขา การเกษตร ขยายตัว พิจารณาจากมูลค่า ผลผลิตรวมด้านการเกษตรเพิ่มขึ้น จากปีก่อนร้อยละ สาขาปศุ
20 December 2007 ดร. ชัยวัฒน์ วิบูลย์สวัสดิ์ ที่ปรึกษากิตติมศักดิ์ สถาบันวิจัยนโยบาย เศรษฐกิจการคลัง การบริหารการคลังกับบทบาทภาครัฐ “ เศรษฐกิจปีใหม่ กับ.
บทที่ 1 บทนำ โดย อ.มานิตย์ ผิวขาว
ทิศทางเศรษฐกิจไทยภายใต้ความไม่แน่นอนปี 2554
ปรับค่าแรง300 บาทมีผลกระทบ เศรษฐกิจประเทศไทยจริง?
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
ครูพัทธนันท์ เปลี่ยนศรี การคลัง ผู้สอน อ. พัทธนันท์ เปลี่ยนศรี โรงเรียนวังไกลกังวล ผู้สอน อ. พัทธนันท์ เปลี่ยนศรี โรงเรียนวังไกลกังวล สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม.
ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทนปัจจัยการผลิต (ค่าเช่า, ดอกเบี้ย, ค้าจ้าง ,กำไร) ปัจจัยการผลิต (ที่ดิน, ทุน, แรงงาน, ผู้ประกอบการ)
แนวคิดเศรษฐกิจในยุคโลกาภิวัตน์ที่สำคัญ
ดุลการชำระเงิน Balance of payment
การคำนวณภาษีสรรพสามิต
การสร้างวินัยทางการเงินการคลัง 24 กุมภาพันธ์ 2557
บทที่ 4 การกำหนดขึ้นเป็นรายได้ประชาชาติดุลยภาพ
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
บทที่ 2 รายได้ประชาชาติ
ด. ช. อติชาต ปันเต ม.1/12 เลขที่ 4 ด. ช. ณปภัช เรือนมูล ม.1/12 เลขที่ 5.
ผู้สอน ครูศรีวรรณ ปานสง่า
เงินเฟ้อ และการว่างงาน
บทที่ 1 หลักการและโครงสร้างของภาษีอากร
บทที่ 5 ภาวะการเงิน.
บทที่ 4 ปริมาณเงินในระบบเศรษฐกิจ
ครูพัทธนันท์ เปลี่ยนศรี การคลัง ผู้สอน อ. พัทธนันท์ เปลี่ยนศรี โรงเรียนวังไกลกังวล ผู้สอน อ. พัทธนันท์ เปลี่ยนศรี โรงเรียนวังไกลกังวล สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม.
สถาบันการเงิน และนโยบายการเงิน
เศรษฐศาสตร์มหภาคเบื้องต้น
ใบสำเนางานนำเสนอ:

5.3 การใช้จ่ายของรัฐ การเก็บภาษี และนโยบายเศรษฐกิจ การมีภาครัฐบาล มีส่วนเกี่ยวข้องกับธุรกิจ 2 ด้านคือ การใช้จ่ายของรัฐบาล การเก็บภาษีของรัฐบาล การใช้จ่ายและเก็บภาษีของรัฐบาลมีผลกระทบต่อเศรษฐกิจทั้งในแง่เพิ่มและลดรายได้ประชาชาติ การใช้จ่ายของรัฐ ช่วยเพิ่มรายได้ นั่นคือ เศรษฐกิจขยายตัว การเก็บภาษีของรัฐ ทำให้รายได้ลดลง นั่นคือ เศรษฐกิจหดตัว

การใช้จ่ายของรัฐช่วยให้เศรษฐกิจขยายตัว Y = C + I + G C + I + G C + I Y1 Y2

ผลกระทบจากการใช้จ่ายของรัฐบาล ถ้ารัฐบาลเพิ่มค่าใช้จ่ายมากขึ้น เศรษฐกิจก็จะขยายตัว ถ้ารัฐบาลลดค่าใช้จ่ายลง รายได้ประชาชาติและเศรษฐกิจก็จะลดลง ผลกระทบขึ้นกับตัวทวีคูณ (multiplier) Y = a + mpcY + I + G …(1) (1-mpc)Y = a + I + G mpsY = a + I + G Y = (a + I + G)/mps …(2)

ผลกระทบจากการใช้จ่ายของรัฐบาล ถ้าเรา dif สมการที่ 2 เทียบกับ I หรือ G จะพบว่า รายได้ประชาชาติจะเปลี่ยนไป (เศรษฐกิจจะขยายหรือหดตัว) เท่ากับ 1/mps นั่นคือ Y = 1/mps * G …(1) ค่า 1/mps คือ ตัวทวีคูณรายได้ประชาชาติ เช่น ถ้า mps = 0.25 ทุกๆ บาทของงบประมาณรัฐบาลจะทำให้รายได้ประชาชาติเพิ่มขึ้น 4 บาท

การเก็บภาษีของรัฐบาล การเก็บภาษีมีผลให้รายได้ที่จับจ่ายใช้สอยได้ของประชาชนลดลงจึงมีผลกระทบต่อรายได้ Y = a + mpc(Y-T) + I + G Y = (a – mpc*T + I + G)/mps Y = a + mpc(Y-tY) + I + G Y = a + mpc*t*Y + I +G Y = (a + I + G)/(1 - mpc*t)

การเก็บภาษีของรัฐบาล จะเห็นว่าตัวทวีคูณรายได้ประชาติในกรณีการเก็บภาษีเป็นสัดส่วนตามรายได้มีผลให้รายได้ประชาชาติเปลี่ยนแปลงไปน้อยกว่ากรณีการไม่เก็บภาษีหรือเก็บภาษีแบบเหมาจ่าย 1/mps มากกว่า 1/(1 - mpc*t)

ผลจากการใช้จ่ายและเก็บภาษีของรัฐบาล C + I + G CT + I + G C + I CT + I Y1 Y4

นโยบายการคลังของรัฐบาล รัฐดำเนินนโยบายการคลังโดยการควบคุมค่าใช้จ่ายของรัฐและการกำหนดภาษี รัฐสามารถทำให้การว่างงานลดลงหรือมีการจ้างงานเต็มที่ได้ด้วยการดำเนินนโยบายการคลัง รัฐบาลจะไม่จ่ายงบประมาณมากจนกระทั้งเกิดเงินเฟ้อบริสุทธิ์ (Pure Inflation)

นโยบายการคลังของรัฐบาล (Fiscal Policy) C + I + G’ C + I + G C + I Y1 Y2 Y3

การกำหนดนโยบายการคลังของรัฐบาล การเพิ่มค่าใช้จ่ายของรัฐบาลมีผลให้รายได้ประชาชาติเพิ่ม การเก็บภาษีทำให้รายได้ประชาชาติลดลง รัฐบาลต้องเก็บภาษีมาเป็นค่าใช้จ่าย รัฐบาลสามารถดำเนินกำหนดนโยบายได้ 3 ทาง นโยบายได้ดุล รัฐใช้จ่ายเท่ากับภาษีที่เก็บได้ นโยบายเกินดุล รัฐใช้จ่ายน้อยกว่าที่เก็บภาษีได้ นโยบายขาดดุล รัฐใช้จ่ายมากกว่าภาษีที่เก็บได้

การกำหนดนโยบายการคลังของรัฐบาล การใช้นโยบาย expansionary vs. contraction เพื่อแก้ปัญหาวงจรธุรกิจ (Business Cycle) ช่วงเศรษฐกิจเจริญเติบโต (Blooming) ใช้นโยบาย contraction เก็บภาษีแก่ภาคธุรกิจที่เจริญมากไป ช่วงเศรษฐกิจตกต่ำ (Recession) ใช้นโยบาย expansionary ลดหย่อนภาษีแก่ธุรกิจที่ซบเซา

นโยบายการเงิน (Monetary Policy) การควบคุมปริมาณเงิน (Money Supply) M1 = general purpose money, narrow money ปริมาณเงินทั้งในรูปเหรียญกระษาปณ์และแบงค์ รวมกับ Demand Deposits (เช็ค) M2 = Broad money ซึ่งมีค่าเท่ากับ M1 + Saving and Time Deposits

Quantity Theory of Money ราคาสินค้าและบริการสัมพันธ์กับปริมาณเงินในระบบเศรษฐกิจ เมื่อมีภาวะเงินเฟ้อ ประชาชนต้องการใช้เงินมากขึ้นเพื่อซื้อสินค้าและบริการ ถ้ามีปริมาณเงินมาก ก็จะทำให้เกิดเงินเฟ้อ (หรือปริมาณเงินเป็นสาเหตุของเงินเฟ้อ) P = k*M (ราคาเป็นสัดส่วนของปริมาณเงิน)

Quantity Theory of Money ค่า k มีแนวคิดมาจาก “การหมุนเวียนของเงินในระบบเศรษฐกิจ (velocity of circulation)” V  PQ/M นั่นคือ MV  PQ P  (V/Q)*M => P = k*M Modernized Quantity Theory (โดย Milton Friedman) เห็นว่า V สามารถคาดคะเนค่าได้ ดังนั้น การควบคุม M ก็จะสามารถควบคุม GNP และเงินเฟ้อได้

นโยบายการเงินของรัฐบาล (โดยธนาคารแห่งชาติ) การควบคุมการพิมพ์เงิน (Fait Money Authority) การกำหนดอัตราเงินสำรอง (Reserve Requirements) การกำหนดอัตราคิดลด (Discount Rate) การซื้อขายพันธบัตรของรัฐบาล (Open Market Operation) การขอความร่วมมือ (Moral Suasion or Jawboning)