โครงร่างของรัฐธรรมนูญ 2550(Social Contract)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ส่วนที่ 2 องค์กรอิสระและศาลรัฐธรรมนูญ
Advertisements

บทที่ 3 การจัดทำกฎหมาย.
(กำหนดขึ้นโดยสำนักงานผู้ตรวจการแผ่นดิน)
ผศ. วีระศักดิ์ จารุชัยนิวัฒน์
4. สถาบันการเมืองการปกครอง
การเมืองและการปกครองในระบอบประชาธิปไตย ความหมายของประชาธิปไตย
ปฏิรูปการเมือง สถาบันทางการเมือง สิทธิเสรีภาพ ยุติธรรม เศรษฐกิจ
อำนาจอธิปไตย อธิปไตยเป็นอำนาจสูงสุดในการปกครองประเทศประกอบด้วย อำนาจนิติบัญญัติ อำนาจบริหาร และอำนาจตุลาการ ใช้ในการบริหารการปกครองประเทศตามระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นพระประมุข.
การปกครองท้องถิ่นไทยในปัจจุบัน
รัฐธรรมนูญใหม่ (พ.ศ. 2550) กับการปกครองท้องถิ่นไทย โดย
สาระสำคัญของ ร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ....
รหัสวิชา มนุษย์กับสังคม (Man and Society)
กฎหมายเบื้องต้น.
รูปแบบรัฐ ฐานะและพระราชอำนาจของพระมหากษัตริย์
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฏหมาย
“คุณธรรม” และ “จริยธรรม”
33711 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 7
พ.ร.บ.ประกอบรัฐธรรมนูญ ว่าด้วยการป้องกันและปราบปราม การทุจริต พ.ศ.2542
HUMAN RIGHTS สิทธิมนุษยชน สำนักงานพระธรรมนูญทหารบก.
เค้าโครง ภาค ๑ หลักทั่วไป ภาค ๒ ความเป็นกฎหมายสูงสุดของรัฐธรรมนูญ
บทที่ ๒ พัฒนาการของรัฐธรรมนูญนิยม (CONSTITUTIONALISM)
สัปดาห์ที่ 4.
อุดมการณ์ทางการเมือง (Political ideology)
การเลือกตั้ง (Election)
นิติบัญญัติ บริหาร ตุลาการ
ประเด็นบรรยาย เรื่อง บทบาทและอำนาจหน้าที่ตามกฎหมาย ของผู้ตรวจการสหกรณ์
1. Popular Sovereignty 2. Individuals Rights, Liberty, and Equality 3. Consent 4. Representation.
Local Autonomy ความเป็นอิสระของท้องถิ่น Autonomy Auto-Nomas.
การบริหารจัดการท้องถิ่น
: ระบอบประชาธิปไตยในยุคโลกาภิวัฒน์
1. การพัฒนาประชาธิปไตย : สถาบัน
ระบอบประชาธิปไตย ความหมาย นิยามตามศัพท์ของคำ.
YOUR SUBTITLE GOES HERE
การประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ กับกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
การแก้ไขปัญหาความขัดแย้งในชุมชน
ทุกท่านด้วยความยินดียิ่ง
แนวทางการขับเคลื่อน การสร้างความสมานฉันท์ในสังคมไทย
สิทธิในการเข้าถึง ข้อมูลข่าวสารราชการ
กฎหมายที่หัวหน้างานควรรู้
ข้อกฎหมายที่น่ารู้สำหรับผู้บริหารส่วนภูมิภาค
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ กฎหมาย กฎหมาย คือ ข้อบังคับ ของรัฐซึ่งกำหนดความ ประพฤติของพลเมืองไว้ ถ้าผู้ใดฝ่าฝืนจะได้รับการ ลงโทษ โดยเจ้า พนักงานของรัฐ.
บทเรียนการคุ้มครองสิทธิมนุษยชนในประเทศไทย
ที่มา และแนวคิดสิทธิมนุษยชนใน อารยธรรมไทย รับผิดชอบโดย อ. ทศพลทรรศนกุลพันธ์
นโยบายสาธารณะกับการปฏิรูปการเมือง การปกครอง และการบริหาร
การปกครองระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข
การบริหารราชการแผ่นดิน
สาระสำคัญของกฏหมายปกครอง
บทที่ 3 ปรัชญาและแนวความคิดของการพัฒนาชุมชน
ประกาศกระทรวงสาธารณสุข ว่าด้วยเกณฑ์จริยธรรมการจัดซื้อจัดหา
จำนวนคณะกรรมาธิการที่ส่งประเด็น ณ วันที่ 10 ธันวาคม 2557 เวลา น. คณะกรรมาธิการปฏิรูปจำนวน - การเมือง20 - การบริหารราชการแผ่นดิน11 - กฎหมายและกระบวนการยุติธรรม12.
สรุปความเห็นและข้อเสนอแนะ ในการยกร่างรัฐธรรมนูญ ของคณะกรรมาธิการ ๑๘ คณะ จำนวน ๒๔๖ ประเด็น 1 ข้อมูลสรุป ณ วันพฤหัสบดีที่ ๑๑ ธันวาคม ๒๕๕๗ เวลา ๒๒.๓๐ นาที
วิชา หน้าที่พลเมืองฯ ม.1
จรรยาบรรณ นางสาวสมลักษณ์ ลวดเงิน พนักงานพัฒนากองทุนหมู่บ้าน
การปฏิรูปการเลือกตั้งผู้แทนราษฎร
สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ส 33101
เรื่อง สถาบันการเมืองการปกครอง
หลักการแบ่งแยกอำนาจ และสถาบันทางการเมือง
พลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย
ความรู้เบื้องต้นทางรัฐศาสตร์ การเมือง
ตำแหน่ง ครู วิทยฐานะชำนาญการ
ปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน
สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ส 33101
กรอบแนวทางในการยกร่างรัฐธรรมนูญ พ.ศ ของคณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญ
เรื่อง แนวคิดการเมืองการปกครองระบอบประชาธิปไตย
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
การแบ่งแยกกฎหมายมหาชนและกฎหมายเอกชน
ผู้ร่วมงาน ๑. นายชัยเดช แสงทองฟ้า. เลขที่ ๒ ๒. นายวสันต์ เสริฐศรี
ผู้สอน ครูศรีวรรณ ปานสง่า
ครูจงกล กลางชล 1. 2 สรุปแนวคิดเกี่ยวกับพัฒนาการ ด้านการเมือง – การปกครองโดยใช้ วิธีการทางประวัติศาสตร์ได้
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โครงร่างของรัฐธรรมนูญ 2550(Social Contract) ประชาชน มอบอำนาจอธิปไตย รัฐ (มีอำนาจจำกัดเพื่อคุ้มครองสิทธิ/เสรีภาพ) พระมหากษัตริย์ อำนาจอธิปไตย(หนึ่งเดียวแบ่งแยกมิได้) Separation of function การควบคุมการใช้อำนาจรัฐ นิติบัญญัติ (รัฐสภา) เลือกตั้ง(รัฐธรรมนูญ) ทางอ้อม ใช้อำนาจอธิปไตย ประชาชน บริหาร (รัฐบาล) ตุลาการ (องค์กรชี้ขาดข้อพิพาท) ศาลยุติธรรม ศาลปกครอง ศาลรัฐธรรมนูญ Tribunal (องค์กรอิสระ) ป.ป.ช. Ombudsman คณะกรรมการ สิทธิมนุษยชน คณะกก.ตรวจเงิน แผ่นดิน ก.ก.ต. (กระบวนการ) การตรวจสอบบัญชี ทรัพย์สิน/หนี้สิน การดำเนินคดี อาญานักการเมือง Impeachment ใช้อำนาจอธิปไตยทางตรง

บทที่ 1 ความเบื้องต้น รัฐธรรมนูญ(Constitution) คือ ก.ม สูงสุดในการปกครองประเทศ ที่เป็นเอกสารลายลักษณ์อักษรกำหนดเรื่องอำนาจ อธิปไตย สถาบันการเมือง สิทธิ – เสรีภาพ ก.มรัฐธรรมนูญ(Constitutional Law) คือ ก.มทั้งหลายที่ว่าด้วยเรื่องอำนาจอธิปไตย สถาบันการเมือง สิทธิ – เสรีภาพ ก.มประกอบรัฐธรรมนูญ(Organic Law) คือ ก.มว่าด้วยรายละเอียดของกลไกลทาง ร.ธ.น ที่จะนำไปสู่ผลในทางปฏิบัติตามเจตนารมณ์แห่ง ร.ธ.น

ก.ม ประกอบ ร.ธ.น มี 9 ฉบับคือ ว่าด้วยการเลือกตั้ง ส.ส ./สว. ว่าด้วยคณะกรรมการการเลือกตั้ง ว่าด้วยพรรคการเมือง ว่าด้วยผู้ตรวจการแผ่นดินรัฐสภา ว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต (ป.ป.ช.) ว่าด้วยวิธีพิจารณาคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง ว่าด้วยการตรวจเงินแผ่นดิน ว่าด้วยการออกเสียงประชามติ ว่าด้วยวิธีพิจารณาของศาลรัฐธรรมนูญ

ก.มร.ธ.น ในฐานะที่เป็น ก.ม มหาชน รัฐ VS เอกชน ที่รัฐอยู่เหนือเอกชน - รัฐมีอำนาจอธิปไตย/ อำนาจมหาชน - การตีความโดยรักษาดุลยภาพระหว่างประโยชน์สาธารณะกับสิทธิเสรีภาพของประชาชน - (ต้องไม่ตีความเคร่งครัด)

ความแตกต่างกฎหมายรัฐธรรมนูญกับกฎหมายปกครอง เนื้อหา - รัฐธรรมนูญพูดถึง อำนาจอธิปไตย สถาบันการเมือง สิทธิเสรีภาพ - กฎหมายปกครองพูดถึงสถาบันฝ่ายปกครองคือใคร อำนาจหน้าที่ในการจัดทำบริการสาธารณะ การควบคุมฝ่ายปกครอง ฐานะลำดับศักดิ์กฎหมาย - รัฐธรรมนูญสูงสุด/สูงกว่ากฎหมายปกครอง

(สถาบันการเมือง) (ฝ่ายปกครอง) นายกฯ สำนักนายกฯ ค.ร.ม. ร.ม.ต. กระทรวง กฎหมาย ร.ธ.น. พูดถึง กฎหมายปกครอง สถาบันการเมือง - ฝ่ายปกครอง - การเข้าสู่อำนาจ - อำนาจหน้าที่ในการ - อำนาจหน้าที่ในฐานะ จัดทำบริการสาธารณะ รัฐบาล (Act of (Administrative Act) Government)

ความหมายเชิงประวัติแนวคิด ร.ธ.น. 1.สมัยโบราณ อดีต  คศ.1215 ไม่มีความหมายและขอบเขตชัดเจน พูดถึงการปกครองโรมัน ข้อบังคับการประชุมสภา ปกปิดศึกษาเฉพาะในหมู่ชนชั้นการปกครอง เป็นจารีตประเพณี / โองการของพระมหากษัตริย์

2. สมัยที่ 2 ค.ศ.1215 – คศ.1776 ขุนนาง 25 คน จับกษัตริย์ John ลงนามใน Magna Carta จำกัดอำนาจพระมหากษัตริย์ เสรีภาพในการนับถือศาสนา สัญญาว่าจะให้สิทธิและความยุติธรรม ไม่ขึ้นภาษีโดยปราศจากจากความเห็นชอบของราษฎรหรือผู้แทน ไม่เกณฑ์พลเมืองปรนนิบัติกองทัพ บุคคลใดจะถูกจับกุม คุมขัง ริบทรัพย์เนรเทศไม่ได้ เว้นแต่จะพิจารณาอันเที่ยงธรรมตาม ก.ม ของบ้านเมือง

รับรองสิทธิของประชาชนในการเคลื่อนย้ายภายในประเทศและการเดินทางออกนอกประเทศโดยเสรี (อิทธิพลของ Magna Carta นี้มีต่อผู้อพยพไปอยู่อเมริกาและเป็นต้นเค้าของ ร.ธ.น.สหรัฐอเมริกา คนอมริกันจึงเทอดทูนเสรีภาพ ต่าง ๆ ตาม Magna Carta และเรียกว่าสิทธิเสรีภาพตามธรรมชาติ และกลายมาเป็นสิทธิมนุษยชน (Human Rights)

หาก King ผิดสัญญา Magna Carta ขุนนางมีสิทธิยึดอำนาจและจัดหา King ใหม่ได้

3. สมัยที่ 3 ค.ศ.1776 – ค.ศ.1945 เกิดเหตุการณ์สำคัญของโลก 2 เหตุการณ์คือ 1. การประกาศอิสรภาพในสหรัฐอเมริกา ค.ศ.1776 2. การปฏิวัติใหญ่ใน Fr. ค.ศ 1789 เป็นผลมาจากทฤษฎีสัญญาประชาคม (Social Contract) ถูกเสนอเพื่อสวนทางอำนาจของ King

มีการแปล Conceptร.ธ.นลายลักษณ์อักษรที่มีหลักการปกครองแบบประชาธิปไตย ร.ธ.น เป็น ก.ม สูงสุด อำนาจอธิปไตยเป็นของประชาชน มีหลักการแบ่งแยกอำนาจ หลักนิติรัฐ (Legal State) หลักประกันสิทธิเสรีภาพของประชาชน เรียกแนวคิดนี้ว่า ลัทธิรัฐธรรมนูญนิยม(Constitutionalism) แพร่ไปในประเทศที่มีการปกครองแบบประชาธิปไตย

สมัยที่ 4 หลังสงครามโลกครั้งที่ 2- ปัจจุบัน เกิดองค์การสหประชาชาติ ร.ธ.น.เป็นสัญลักษณ์ความเป็นเอกราชเพียงพอที่จะติดต่อสัมพันธ์ระหว่างประเทศ มิใช่เอกสารประชาธิปไตย