วิจัย (Research) คือ อะไร

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
คอมพิวเตอร์ช่วยสอนการเลือกใช้ ตัวสถิติทดสอบที่ถูกต้อง
Advertisements

การเสนอโครงการวิทยานิพนธ์
การทดสอบสมมติฐาน (Hypothesis Testing)
การทดสอบสมมติฐานเกี่ยวกับ ค่าเฉลี่ยประชากร 1 กลุ่ม
ประชากร (Population) จำนวน N สุ่ม (Random) กลุ่มตัวอย่าง (Sample)
การทดสอบสมมติฐานสัดส่วนของประชากร
ไม่อิงพารามิเตอร์เบื้องต้น
안녕하세요. ( อัน-นยอง-ฮา-เซ-โย )
สถิติ และ การวิเคราะห์ข้อมูล
ประเด็นทางจริยธรรมสำหรับการวิจัยเชิงปริมาณทางสังคมศาสตร์ (Ethical Issues in Quantitative Methodology in Social Research ) ธีรเดช ฉายอรุณ หลักสูตรประชากรศึกษา.
1.7 ระเบียบวิธีทางสถิติ 1. การเก็บรวบรวมข้อมูล (Data Collection)
การตั้งสมมติฐานและตัวแปร
อาจารย์สมพงษ์ พันธุรัตน์
ขั้นตอนในการทำวิจัย.
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
สถิติที่ใช้ในการวิจัย
สถิติที่ใช้ในการวิจัย
การเลือกตัวอย่าง อ.สมพงษ์ พันธุรัตน์.
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
การทดลองและการเขียนรายงานผลการทดลองทางวิทยาศาสตร์
Chapter 10: Hypothesis Testing: Application
การวิเคราะห์ข้อมูลโดยสถิติเชิงพรรณนา (Descriptive Statistics)
เทคนิคการประเมินผลการเรียนการสอน (การให้ระดับคะแนน:เกรด)
สถิติและวิจัยทางเทคโนโลยีสารสนเทศ
เอกสารประกอบคำสอน อาจารย์ศุกรี อยู่สุข
บทที่ 6 การวิเคราะห์สหสัมพันธ์
2 การเก็บรวบรวมข้อมูล Data Collection.
แนวคิด พื้นฐาน ทางสถิติ The Basic Idea of Statistics.
Graphical Methods for Describing Data
มาตรฐานการวัด คุณภาพตัวชี้วัด และ สถิติ
คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
การวิเคราะห์สหสัมพันธ์และการถดถอย
การตรวจสอบข้อมูลทางอุทกวิทยา
การคำนวณค่าสถิติเบื้องต้น … สถิติเชิงพรรณนา
การทดสอบสมมติฐานเกี่ยวกับลักษณะของข้อมูล
ระเบียบวิธีวิจัย RESEARCH METHODOLOGY : ตัวแปรการวิจัย.
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทาง การตลาด
ประชากร และกลุ่มตัวอย่าง
Menu Analyze > Correlate
โครงร่างการวิจัย (Research Proposal)
สถิติเชิงสรุปอ้างอิง(Inferential or Inductive Statistics)
การออกแบบการวิจัย(Research Design)
การออกแบบการสุ่มตัวอย่าง (sampling design)
การตัดสินใจเบื้องต้น : สถิติเบื้องต้น (Introduction to statistics)
สถิติ Statistics โดย น.ท.อนุรักษ์ โชติดิลก
สถิติในการวัดและประเมินผล
อาชีพ เชื้อชาติ เพศ เบอร์ของนักฟุตบอล ศาสนา
การสร้างและพัฒนา เครื่องมือประเมิน ดร.ณัชชา มหปุญญานนท์
การทดสอบความแปรปรวน ANOVA
ประชากรและการสุ่มกลุ่มตัวอย่าง
น.ท.หญิง วัชราพร เชยสุวรรณ วิทยาลัยพยาบาลกองทัพเรือ
การวิเคราะห์ข้อมูล.
สถิติเบื้องต้นสำหรับงานระบาดวิทยา Statistics for Epidemiology
การแจกแจงปกติ.
ทบทวน ระดับของข้อมูลจากการวัด แบ่งได้ 4 ประเภท ดังนี้
บทที่ 9 สถิติที่ใช้ในการประเมินผล
สถิติสำหรับการวิจัย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. สมบัติ ท้ายเรือคำ
สถิติธุรกิจ BUSINESS STATISTICS.
กระบวนการวิจัย Process of Research
สวัสดี ครับ เพื่อนพี่น้องผู้ทรงคุณวุฒิทุกท่าน.
(Descriptive Statistics)
การสุ่มตัวอย่าง ( Sampling Technique)
คำอธิบายรายวิชา.
Chi-Square Test การทดสอบไคสแควร์ 12.
ลักษณะโครงการวิจัยที่ดี
สถิติเพื่อการวิจัย 1. สถิติเชิงบรรยาย 2. สถิติเชิงอ้างอิง.
15. การวิจัยเชิงสำรวจ Survey Research.
ข้อมูล ข้อเท็จจริงหรือรายละเอียดเกี่ยวกับเรื่องที่สนใจศึกษา ซึ่งอาจอยู่ในรูปตัวเลข เช่น น้ำหนัก ความสูง ระยะทาง อายุ หรืออาจเป็นข้อเท็จจริงที่อยู่ในรูปคุณลักษณะหรือคุณสมบัติ
การเตรียมข้อมูล (Data preparation)
การเลือกใช้สถิติเพื่อการวิจัย
ใบสำเนางานนำเสนอ:

วิจัย (Research) คือ อะไร Knowledge --> Truth

School of Thought (รศ.ดร.รัตนะ บัวสนธิ์) Positivism-------------- Alternative การวิจัยเชิงปริมาณ การวิจัยเชิงคุณภาพ -การดำรงอยู่ของความจริง -ลักษณะของความจริง -นำความรู้ไปสามัญการได้ -เชื่อเรื่องความสัมพันธ์เชิงสาเหตุ Statistic

Statistic ?

ความหมายของสถิติ ข้อมูลสถิติ หมายถึง ตัวเลขแทนข้อเท็จจริง ข้อมูลสถิติ หมายถึง ตัวเลขแทนข้อเท็จจริง สถิติศาสตร์ หมายถึง ศาสตร์เกี่ยวกับวิธีการที่ใช้ในการศึกษาข้อมูล /ระเบียบวิธีทางสถิติ ประกอบด้วย - วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล - การนำเสนอข้อมูล - การวิเคราะห์ข้อมูล - การตีความหมายข้อมูล

ความหมายของสถิติ ค่าสถิติ หมายถึง ค่าตัวเลขที่คำนวณได้จากกลุ่มตัวอย่าง (Sample Data) วิชาสถิติ หมายถึง วิชาวิทยาศาสตร์แขนงหนึ่งที่มีเนื้อหาและรากฐานมาจากวิชาคณิตศาสตร์ และตรรกวิทยา

นิยามศัพท์ ประชากร (Population or Universe) หมายถึง ส่วนทั้งหมดของทุกหน่วยที่เป็นไปตามเงื่อนไขที่เราต้องการศึกษา กลุ่มตัวอย่าง (Sample) หมายถึง ส่วนหนึ่งของประชากรที่ถูกสุ่มหรือเลือกขึ้นมาใช้ในการศึกษาแทนประชากร

นิยามศัพท์ ค่าพารามิเตอร์ (Parameters) เป็นค่าที่คำนวณได้จากข้อมูลประชากร (Population Data) เช่น , ,  เป็นต้น ค่าสถิติ (Statistic) เป็นค่าที่คำนวณได้จาก ข้อมูลกลุ่มตัวอย่าง(Sample Data) เช่น X, S.D., r เป็นต้น

ประเภทของสถิติ สถิติเชิงบรรยาย (Descriptive Statistics) สถิติเชิงสรุปอ้างอิง (Inferential or Inductive Statistics)

สถิติเชิงบรรยาย (Descriptive Statistics) มุ่งศึกษาหาคำตอบเชิงตัวเลขเพื่อบรรยายลักษณะ ข้อมูลหรือการแจกแจงข้อมูลเฉพาะของประชากร หรือกลุ่มตัวอย่างตามข้อมูลที่เก็บรวบรวมมาได้ โดยไม่นำไปใช้อธิบายหรือสรุปอ้างอิงไปยังประชากรหรือกลุ่มตัวอย่างอื่นๆ

สถิติเชิงบรรยาย (Descriptive Statistics) การแจกแจงความถี่ การจัดตำแหน่งเปรียบเทียบ เช่น แสดงความถี่ ร้อยละ สัดส่วน การวัดแนวโน้มเข้าสู่ ส่วนกลาง Mode  Nominal Scale Median  Ordinal Scale Mean  Interval Scale & Ratio Scale การวัดการกระจาย สถิติเชิงบรรยาย (Descriptive Statistics)

มาตรการวัด (Measurement Scale) มาตรานามบัญญัติ (Nominal Scale) จัดประเภท ไม่มีความหมายเกี่ยวกับลำดับด้านปริมาณ มาตราจัดอันดับ (Ordinal Scale) แสดงความเกี่ยวข้องสัมพันธ์กันของสิ่งต่างๆ โดยคำนึงถึงการจัดลำดับหรือตำแหน่ง มาตราช่วงหรืออันตรภาค (Interval Scale) มีระยะห่างระหว่างหน่วยของสเกลที่ใช้วัดเท่ากัน ไม่มีศูนย์แท้ แต่สามารถนำค่าที่ได้มาบวก ลบ คูณ หาร กันได้ มาตราอัตราส่วน (Ratio Scale) มีคุณสมบัติพื้นฐานเหมือนมาตราอัตราภาคและมีจุดเริ่มต้นจากศูนย์ที่แท้จริง

รายชื่อผู้ป่วยจิตเวช ความพึงพอใจในการบริการ จำนวนผู้ป่วยจิตเวช ความรู้เกี่ยวกับสุขภาพจิตของประชาชน ทัศนคติที่มีต่อระบบการรักษา อายุของเจ้าหน้าที่ที่ให้บริการคลินิกจิตเวช สาเหตุการฆ่าตัวตาย วิธีการฆ่าตัวตาย

ห้ามใช้ Mean กับข้อมูลที่มีค่าผิดปกติไปจากกลุ่ม ตัวอย่าง รายได้ (บาท) 3,000 2,500 2,500 4,000 4,500 200 บทบาทของผู้จัดกระทำข้อมูล บทบาทของผู้ใช้ข้อมูล

ข้อควรคำนึงในการเลือกใช้สถิติบรรยาย ต้องคำนึงถึงสเกลการวัดของข้อมูล (Scale of measurements) หรือคุณลักษณะพื้นฐานของค่าตัวเลขที่ได้จากการวัด เพื่อเลือกใช้สูตรให้ตรงตามข้อตกลง และการแปลความหมายให้ถูกต้อง

ให้ศึกษาระดับความเครียดของประชาชน จังหวัดพิษณุโลก?

Sample -----------------> Population Inferential Statistic

Significant level Sample -----------------> Population 7,500------------------------> 4,000 ERROR…..ไม่มีงานวิจัยใดใดจะสมบูรณ์ Significant level 100--------------------------------> 5 (p-value=0.05) 100--------------------------------> 1 (p-value=0.01)

กระบวนการทดสอบสมมติฐาน (Hypothesis) Sample -----------------> Population Inferential Statistic กระบวนการทดสอบสมมติฐาน (Hypothesis)

สรุป ทฤษฎีความน่าจะเป็นและการสุ่มตัวอย่าง (Probability Sampling Techniques) การประมาณค่าของประชากร (Estimation) การทดสอบสมมติฐาน (Testing of Hypotheses)

สถิติเชิงสรุปอ้างอิง (Inferential or Inductive Statistics) มุ่งศึกษาเกี่ยวกับข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่าง (Sample Data) เพื่อประมาณ (estimate) คาดคะเน (prediction) สรุปอ้างอิง (generalization) หรือนำสู่การตัดสินใจ (reaching decision) ไปยังประชากรเป้าหมาย

กระบวนการทดสอบสมมติฐาน Research problem: 5’P -Problem Based -Policy Planning Based - Political Pressure - Public interest - Personnel interest Review literature แนวทางการใช้อ้างเหตุและผล เพื่อนำมาทดสอบในบริบทของเรา และทำให้เชื่อถือได้ว่าผลทางสถิติไม่ใช่เกิดจากความบังเอิญ

กระบวนการทดสอบสมมติฐาน 3. Research hypothesis สมมติฐานการวิจัย สมมติฐานทางสถิติ H0 และ H1 Null Hypothesis = H0 มักเขียนในรูปปฏิเสธ หรือไม่มีความแตกต่าง ไม่สัมพันธ์กัน Alternative Hypothesis = H1 มักเขียนในรูปมีความแตกต่าง มีความสัมพันธ์กัน และเขียนให้สอดคล้องกับสมมติฐานการวิจัย

Parametric Statistics Non-Parametric Statistics กระบวนการทดสอบสมมติฐาน 4. การเลือกสถิติ Parametric Statistics Non-Parametric Statistics

Parametric Statistics กลุ่มประชากรที่มีการแจกแจงแบบโค้งปกติ ข้อมูลทั้งหมดเรียกว่า Population ค่าที่คำนวณได้เรียก Parameter แต่ถ้าเก็บมาเพียงบางส่วนจากประชากรจะเรียก Sample ค่าที่ได้เรียกว่าค่าสถิติ (Statistics) มี Scale แบบ Ratio หรือ Interval scale เช่น t-test, ANOVA, Correlation, Multiple Regression เป็นต้น

Normal Distribution

Non Parametric Statistics คือสถิติที่ใช้กับกลุ่มประชากรที่ไม่เข้าเงื่อนไขของ Parametric มี Scale การวัดแบบ Ordinal และ Nominal เช่นใช้วิธี Chi Square, Log Rank Test, Mann Whitney, Wilcoxon เป็นต้น

Inferential Statistic ใช้ในการเปรียบเทียบความแตกต่าง (รู้ว่าแตกต่างไม่ไม่สามารถบอกความมากน้อยนั้นได้) Chi-square t- Test 2. ใช้ในการเปรียบเทียบความแตกต่าง Simple Linear Regression Logistic

ข้อบ่งใช้ สถิติ ตัวแปรต้น ตัวแปรตาม Chi-square Nominal scale & Ordinal scale t- Test Interval scale & Ratio scale Simple Linear Regression Logistic

Wow! รายงานการวิจัยทั่วโลก ใช้สถิติผิดวิธี มากกว่าร้อยละ 50 โดยละเลยการให้ความสำคัญกับเงื่อนไขข้อตกลง Assumption

Are you ready? USER