โดย โรงพยาบาลร้องกวาง

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ฟอร์มาดีไฮด์ และและพาราฟอร์มาดีไฮด์
Advertisements

หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 ตัวเรา
โรคแท้งติดต่อ (Brucellosis)
วัณโรค (Tuberculosis/ TB)
โรคพิษสุนัขบ้า เป็นโรคที่พบได้ในสัตว์เลี้ยงลูกด้วย น้ำนมทุกชนิดและติดต่อถึงคน ประเทศไทยมีคนป่วยตายเป็นอันดับต้นๆ 3 รายแรกของโลก โรคพิษสุนัขบ้า.
หลักสำคัญในการล้างมือ
โรคที่เกิดจากสารเคมีที่เป็นพิษในอาหาร
โรคนิ่วในกระเพาะปัสสาวะ
โรคท้องเสีย จัดทำโดย ด.ญ.จุฬารัตน์ น้อยจาด เลขที่ 7 ม.1/4
โรคพยาธิ จัดทำโดย โรคพยาธิ ด.ช.พัสกร มะลิแก้ว เลขที่26
โรคอาหารเป็นพิษ เสนอ อ. สุมน คณานิตย์ จัดทำโดย
โรคทูลารีเมีย (Tularemial)
แนวทางการใช้ยาปฎิชีวนะ
จับประเด็นเตรียมพร้อมสู่HA
การปฏิบัติตัวขณะได้รับยาเคมีบำบัด โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่
ยินดีต้อนรับ สู่..ตึกโรคปอด.
แผนการสอนเรื่องปอดอักเสบ
คำแนะนำผู้ป่วย โรคนิ่วในถุงน้ำดี หอผู้ป่วยพิเศษ 2.
งานสุขศึกษา หอผู้ป่วยกุมาร 3
การขูดมดลูก การขูดมดลูก หมายถึง การใส่อุปกรณ์เครื่องมือแพทย์ผ่านทางช่องคลอด และ ปากมดลูกเข้าไปในโพรงมดลูก เพื่อเก็บชิ้นเนื้อส่งตรวจ.
การผ่าตัดก้อนถุงน้ำที่มือ
มะเร็งเม็ดเลือดขาว หรือ…..ลิวคีเมีย จัดทำโดย น.ส. สุดารัตน์ เมืองเจริญ
แผนการสอนระยะสั้น เรื่อง การดูแลผู้ป่วยเด็กที่มีภาวะนิวโทรฟีเนีย
ผู้ป่วยเม็ดเลือดขาวต่ำ
สารมลพิษ โชคชัย บุตรครุธ.
โรคพยาธิในเลือด โรคพยาธิในเลือดส่วนใหญ่จะหมายความถึงเชื้อโปรโตซัวที่อยู่ในเลือด ไม่ได้รวมถึงหนอนพยาธิที่อยู่ในเส้นเลือด เช่นพยาธิใบไม้เลือด พยาธิในเลือดมักทำให้เกิดโรคที่มีความร้ายแรงกว่าพยาธิในทางเดินอาหารมาก.
โรคขาดอาหารและ/ พยาธิ
โรคบิด/โรคคอคซิดิโอซิส (Coccidiosis)
กลุ่มอาการท้องเสียในลูกโค (Calf scour)
เชื้อ Aeromonas hydrophila ที่ก่อโรคในปลาน้ำจืด
เครื่องมือที่ใช้ในการดำเนินงาน
การเฝ้าระวังเหตุการณ์ในชุมชน
โรคคอตีบ (Diphtheria)
Tuberculosis วัณโรค.
บทที่ 9 โรคที่เกิดจากพฤติกรรมสุขภาพ
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม ประจำเดือน กรกฎาคม 2555 งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
โรคอุจจาระร่วง.
โรคมือปากเท้าเปื่อย (Hand foot mouth syndrome)
โรคอุบัติใหม่ – อุบัติซ้ำ (Emerging Disease – Re-Emerging Disease)
การใช้สารเคมีในด้านเกษตรกรรม
การใช้สารเคมี สมาคมอารักขาพืชไทย ได้ถือกำเนิดขึ้นเมื่อปี พ.ศ ใช้ชื่อในขณะนั้นว่า “ สมาคม ผู้ประกอบธุรกิจสารเคมีกำจัดศัตรูพืช : ส.ธ.ก. ( Thai Pesticide.
การชักและหอบ.
โรคเบาหวาน เบาหวาน คือภาวะที่ร่างกายมีระดับน้ำตาลในเลือดสูงกว่าปกติ เนื่องมาจากร่างกายไม่สามารถนำน้ำตาลในเลือดไปใช้ได้ตามปกติ ซึ่งเกิดจากความผิดปกติของต่อมไร้ท่อที่ตับอ่อนปล่อยฮอร์โมนที่เรียกว่า.
คำแนะนำเรื่อง โรค มือ เท้า ปาก สำหรับผู้ปกครอง.
ข้อห้าม ของการตัดปากมดลูก
กรณีถูกสัตว์กัด-ต่อย
CQI งานผู้ป่วยในหญิง เรื่อง
มาตรฐานฟาร์มเลี้ยงสัตว์
ไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ 2009
กลุ่ม 5 ชื่อกลุ่ม ; วายร้าย
Tonsillits Pharynngitis
Nipah virus.
 “ เชื้อโรค ” หมายถึง จุลินทรีย์ซึ่งสามารถก่อให้เกิดการติด เชื้อหรือโรคติดเชื้อได้ เช่น ไวรัสแบคทีเรีย รา โปรโตซัว ริคเก็ตเชีย และหนอนพยาธิ  “ เชื้อโรค.
การดูแลสุขภาพกาย กลุ่มงานระบาดวิทยา.
อย่า ! ให้คนที่รักต้องจากไปเพราะ...
สถานการณ์และแนวโน้มการระบาด มาตรการและแนวทางการดำเนินงาน
ไข้หวัดใหญ่ (Flu 2009) ปัจจุบัน การระบาดของโรคไข้หวัดใหญ่สายพันธ์ใหม่ 2009 กำลังแพร่ระบาดไปทั่วประเทศ และพบผู้เสียชีวิต จากโรคดังกล่าวจำนวนหนึ่ง การระบาดภายในประเทศระยะแรก.
ใส่หน้ากากอนามัย ล้างมือบ่อยๆ...
ระบบขับถ่าย เรื่อง สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
 “ เชื้อโรค ” หมายถึง จุลินทรีย์ซึ่งสามารถก่อให้เกิดการติด เชื้อหรือโรคติดเชื้อได้ เช่น ไวรัสแบคทีเรีย รา โปรโตซัว ริคเก็ตเชีย และหนอนพยาธิ  “ เชื้อโรค.
Q Fever. Holly Deyo, URL:
สุขวิทยาส่วนบุคคล ของผู้สัมผัสอาหาร
โรคเบาหวาน เป็นชื่อของกลุ่มอาการของโรค ที่ร่างกายไม่สามารถใช้น้ำตาลได้
การล้างมือ (hand washing)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โดย โรงพยาบาลร้องกวาง โรคเลปโตสไปโรซิส โดย โรงพยาบาลร้องกวาง

โรคเลปโตสไปโรซิส โรคเลบโตสไปโรซิส หรือ โรคไข้ฉี่หนู พบได้ทั้งในคนและสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมทุกชนิด ปัจจัยเสี่ยง ต้องเหยียบย่ำน้ำหรือดินโคลนที่ ปนเปื้อนเชื้อ

สาเหตุของโรคเลปโตสไปโรซิส เกิดจากเชื้อแบคทีเรีย ที่มีชื่อว่า “ เลปโตสไปร่า (Leptospira spp.) “ แบ่งตามซีรั่มวิทยาได้เป็น 2 ชนิด 1. ชนิดที่ไม่ก่อโรค อาศัยอยู่ในสิ่งแวดล้อมที่ชื้นแฉะได้นาน 2. ชนิดที่ก่อโรคทั้งในคนและสัตว์ ไม่สามารถอยู่อาศัยในสิ่งแวดล้อมได้นาน

แหล่งที่เชื้ออาศัยอยู่ได้ ชนิดที่ไม่ก่อโรค อาศัยอยู่ในสิ่งแวดล้อมที่ชื้นแฉะได้นาน ชนิดที่ก่อโรค อาศัยอยู่ในคนหรือสัตว์เพื่อการดำรงชีวิต อาศัยอยู่ในสิ่งแวดล้อมที่มีสภาพ ความเป็นกรดด่างปานกลาง หรือค่อนไปทางด่างเล็กน้อย ที่อุณหภูมิประมาณ 28 – 32 องศาเซลเซียส

สัตว์ที่เป็นแหล่งโรค สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมทุกชนิด รวมทั้งคนสามารถติดเชื้อโรคนี้ได้ สัตว์ที่เป็นแหล่งรังโรค จะขับเชื้อออกมากับปัสสาวะ

การระบาดของโรค มีการระบาดไปทั่วโลก ทั้งในเขตหนาวและเขตร้อน - ในเขตหนาว พบการระบาดในฤดูร้อนหรือฤดูฝน - ในเขตร้อน พบการระบาดสูงขึ้นในฤดูฝน อุบัติการของการเกิดโรคมักจะพบในเขตร้อนมากกว่าในเขตหนาว

รูปแบบของการระบาดของโรค แบ่งออกเป็น 3 กลุ่ม ใหญ่ ๆ คือ 1. การระบาดจากการทำฟาร์มปศุสัตว์ พบมากในเขตหนาว 2. การระบาดในพื้นที่เขตร้อน 3. การระบาดในเขตเมือง สาเหตุมาจากสัตว์ฟันแทะโดยเฉพาะหนู

รูปแบบการระบาดในประเทศไทย - การระบาดที่เพิ่มขึ้น มักเกิดจากการเพิ่มขึ้น ของจำนวนสัตว์ที่เป็นแหล่งรังโรค เช่น หนู โค กระบือ สุกร และสุนัข เป็นต้น - คนที่ติดเชื้อเลปโตสไปร่า มักจะมีพฤติกรรมเสี่ยงต่อการติดเชื้อ เช่น มีอาชีพที่ต้องเหยียบย่ำน้ำ หรือโคลน หรือมีอาชีพเลี้ยงสัตว์

การติดต่อของโรค คนหรือสัตว์ติดเชื้อเลปโตสไปร่าได้โดย 1. สัมผัสโดยตรงกับปัสสาวะ เลือด ซากสัตว์ป่วย หรือสัมผัสทางอ้อมจากตัวเชื้อที่ถูกขับออกมาใน สิ่งแวดล้อมที่เชื้อสามารถมีชีวิตอยู่ได้ เช่น - ในแอ่งน้ำที่ชื้นแฉะ - ในทุ่งนา เชื้อสามารถเข้าสู่ร่างการคนหรือสัตว์โดย ไชเข้าที่ทางบาดแผล หรือเยื่อเมือกต่าง ๆ เช่น ปาก ตา จมูก หรือทางผิวหนังที่เปื่อย

การติดต่อของโรค 2. การกินอาหารหรือน้ำที่มีเชื้อปนเปื้อนเข้าไป 3. การหายใจเอาละละอองของปัสสาวะ หรือของเหลวที่มีเชื้อปนเปื้อนเข้าไป

อาการในคน ได้แก่ มีไข้เฉียบพลัน ปวดหัวรุนแรง หนาวสั่น - ปวดกล้ามเนื้ออย่างรุนแรง (โดนเฉพาะปวดที่หน่อง โคนขา และกล้ามเนื้อหลัง) - ตาแดง ดีซ่าน โลหิตจาง เยื่อหุ้มสมองอักเสบ ทำให้ความรู้สึกสับสน เพ้อ ซึม อาจพบกล้ามเนื้อหัวใจอักเสบ ไปมีเสมหะ หรืออาจมีเลือดปน และเจ็บหน้าอก

การควบคุมป้องกันโรคในคน 1. หลีกเลี้ยงการสัมผัสปัสสาวะสัตว์ ซากสัตว์ป่วย สัตว์แท้ง สัตว์ตายแรกคลอด ที่สงสัยว่าป่วยด้วยโรคเลปโตสไปโรซิส และหลีกเลี้ยงการใช้ หรือสัมผัสแหล่งน้ำที่สงสัยว่า มีการปนเปื้อนของเชื้อ เช่น แหล่งน้ำที่สัตว์ลงไปแช่

การควบคุมป้องกันโรคในคน 2. ในกรณีที่ไม่สามารถหลีกเลี้ยงการสัมผัสแหล่งปนเปื้อนได้ ให้สวมเครื่องป้องกันร่างกาย เช่น รองเท้าบู๊ท หรือถุงมือ และให้รีบอาบน้ำ ล้างมือ หรือล้างเท้าทุกครั้งที่สัมผัสดินโคลน แอ่งน้ำ หรือแหล่งปนเปื้อน

การควบคุมป้องกันโรคในคน 3. หลีกเลี้ยงพฤติกรรมเสี่ยงต่อการสัมผัสเชื้อ เช่น กินอาหารสุก ๆ ดิบ ๆ เช่น ลาบ ก้อย เครื่องในสัตว์ หรือผักสดที่เก็บมาจากท้องนา ที่อาจปนเปื้อนฉี่หนู 4. กำจัดหนู ในบริเวณที่พักอาศัย หรือบริเวณคอกสัตว์เลี้ยง 5. รีบไปพบแพทย์ทันที เมื่อสงสัยว่าป่วย หรือมีอาการคล้ายโรคเลปโตสไปโรซิส

การทำลายเชื้อ สามารถทำได้โดย 1.ลดหรือเพิ่มสภาพความเป็นกรดด่าง โดยเชื้อจะตายที่สภาพความเป็นกรดต่ำกว่า 6.5 หรือความเป็นด่างสูงกว่า 8.0 2. เพิ่มหรือลดอุณหภูมิ โดยเชื้อจะตายที่ อุณหภูมิ 45 องศาเซลเซียส นาน 30 นาที หรือ อุณหภูมิ 70 องศาเซลเซียส นาน 10 นาที

การทำลายเชื้อ 3. ความเค็ม เชื้อเลปโตสไปร่าจะตาย เมื่อมีความเค็มสูง 4. ความแห้ง เชื้อเลปโตสไปร่าจะไม่สามารถมีชีวิตอยู่ได้ในสภาพสิ่งแวดล้อมที่แห้ง 5. การใช้น้ำยาฆ่าเชื้อ เช่น ไอโอดีน , คลอรีน , น้ำยาทำความสะอาดทั่วไป รวมทั้งสบู่ก็สามารถฆ่าเชื้อได้

สวัสดี