ไพรินทร์ บุตรแสนลี นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ กลุ่มงานส่งเสริมสุขภาพ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอุดรธานี

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ระบบสุขภาพชุมชน 10 มิถุนายน 2555.
Advertisements

กรอบนโยบาย แผนงาน/โครงการที่จะดำเนินการ
ยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพ จังหวัดตรัง ปี 2555 งานควบคุมโรคติดต่อ
แนวทางการบูรณาการ อพม.กับโครงการพัฒนาตำบลต้นแบบ
พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ รพ.แหลมสิงห์ จังหวัดจันทบุรี
แนวทางการติดตามและประเมินผลการดำเนินงานโครงการ
แนวทาง การดำเนินงานป้องกัน ควบคุมโรคเรื้อน จังหวัดอุดรธานี
ระบบการส่งต่อและเชื่อมโยง ให้ความช่วยเหลือเด็กที่มีปัญหา
รู้จักกัน ผ่านชื่อย่อ
การแบ่งงานและหน้าที่ความรับผิดชอบ
การมีส่วนร่วมของครอบครัวและชุมชน
การดำเนินงานเพื่อลดปัจจัยเสี่ยง ในเด็กวัยเรียนและเยาวชน
ผลและแผนการดำเนินงานอนามัยการเจริญพันธุ์
บทบาท “ Six Key Function” ในจังหวัดภาคกลางตะวันตก
กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์
ข้อเสนอการเปลี่ยนแปลงเพื่อสร้างความโปร่งใส ในกระบวนงานกระบวนการพัฒนาและคุ้มครองพิทักษ์สิทธิเยาวชน (การเสริมสร้างความเข้มแข็งสภาเด็กและเยาวชน) ของสำนักงานส่งเสริมสวัสดิภาพและพิทักษ์เด็ก.
สถานการณ์และการดำเนินงานโรคคอตีบจังหวัดยโสธร 12 พฤศจิกายน 2555
การวิเคราะห์ผลการดำเนินงานระดับกลุ่มจังหวัดและระดับจังหวัด
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
ผังจุดหมายปลายทางการพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรค และ ภัยสุขภาพ ของจังหวัดในพื้นที่ สปสช.เขต 4 จังหวัดสระบุรี ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี)
ภ ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
“การสนับสนุนเครือข่ายให้มีการพัฒนาการดำเนินงานอำเภอควบคุมโรค เข้มแข็งแบบยั่งยืน กรมควบคุมโรค ปี 2555” โดย ดร.นายแพทย์อนุพงค์ สุจริยากุล ผู้อำนวยการสำนักงานควบคุมป้องกันโรค.
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดต่อทั่วไป ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็ก ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน.
ประชุมเพื่อประสานแผน การทำงาน การกำหนดเป้าหมาย และการติดตามกำกับงาน
นโยบาย/แนวทางการดำเนินงาน และกลุ่มหญิงตั้งครรภ์
โครงการพัฒนาการบริการเด็กที่มีปัญหาพัฒนาการและออทิสติก
สำนักวิชาการและแผนงาน
ความก้าวหน้าระดับความสำเร็จ การปฏิบัติราชการของปฏิรูปที่ดิน จังหวัด 5 ครั้ง ณ 30 มิถุนายน 2555 สำนักวิชาการและ แผนงาน.
ความก้าวหน้าระดับความสำเร็จ การปฏิบัติราชการของปฏิรูปที่ดิน จังหวัด 5 ครั้ง ณ 31 พฤษภาคม 2555.
ผลการตรวจสอบที่พักและรีสอร์ท ในเขตปฏิรูปที่ดิน
ความก้าวหน้าระดับความสำเร็จ การปฏิบัติราชการของปฏิรูปที่ดิน จังหวัด 5 ครั้ง ณ 15 มิถุนายน 2555.
สรุปผลการปิดอำเภอ ปีงบประมาณ 2555 ศสท. สผส. สวผ..
แผนปฏิบัติการสำนักงานการปฏิรูปที่ดินจังหวัด พื้นที่ X-RAY ประจำปีงบประมาณ 2556 งาน / โครงการ / กิจกรรม จำนว น ช่าง สำรว จ จำนว น กล้อ ง ( เครื่ อง ) เพิ่ม.
กฎหมายสิ่งแวดล้อม อาชีวอนามัยและความปลอดภัย 1 ข้อกำหนดคณะกรรมการส่งเสริม การจัดสวัสดิการสังคมแห่งชาติว่า ด้วยการกำหนดบุคคลหรือกลุ่ม บุคคลเป้าหมายเป็นผู้รับบริการ.
การดำเนินกิจกรรมเพื่อป้องกันการตั้งครรภ์ในกลุ่มวัยรุ่น
สรุปผลการสำรวจค่าดัชนีลูกน้ำยุงลาย
นโยบาย “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” เขตสาธารณสุข 4
บทสรุปสำหรับผู้บริหาร
แนวทางการประชุมกลุ่ม
ปี2554 หญิงตั้งครรภ์ขาดสารไอโอดีน % มัธยฐาน ไมโครกรัมต่อลิตร สสจ. อุดรธานี ; 2554,2555 ผลการตรวจปัสสาวะหญิงตั้งครรภ์ เพื่อหาภาวการณ์ขาดสารไอโอดีน.
1. เสือปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
ทิศทางอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี 2556
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
ตัวชี้วัดงานอาชีวอนามัย ความสำเร็จการประเมินความเสี่ยงจากการทำงานของบุคลากรในโรงพยาบาล ปี 2555 ร้อยละของความสำเร็จ การประเมินความเสี่ยงจากการทำงานของบุคลากรในโรงพยาบาล.
การนิเทศติดตามงาน PMTCT และ ชี้แจงการดำเนินงานโครงการด้านเอดส์รอบ 10
สรุปบทเรียนโครงการเอดส์ ด้าน CARE
การถ่ายโอนภารกิจให้องค์การปกครองส่วนท้องถิ่น
การป้องกันและควบคุมโรคในเขตบริการสุขภาพ
วิเคราะห์บริบท / สถานการณ์
โครงการพัฒนามาตรการป้องกัน เอดส์และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ ๑๐
แนวทางการจัดทำแผนพัฒนาเขตสุขภาพ
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
ข้อตกลงร่วมกันระหว่างสำนักฯ/สถาบัน/สคร.ฯ
การประชุมเชิงปฏิบัติการ “ความสุขคนไทย” ระหว่างวันที่ กันยายน 2554.
องค์ประกอบและระยะเวลาที่ เปลี่ยนแปลง  จากมีวาระ 2 ปี เป็น 4 ปี  เพิ่ม ผู้แทนหน่วยรับเรื่องร้องเรียน อิสระ หรือศูนย์ประสานงานภาค ประชาชน หรือองค์กรเอกชนด้าน.
แนวทางดำเนินงานสุขภาพภาคประชาชน ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
เป็นผู้นำด้านวิชาการ และเทคโนโลยีการ ป้องกันและควบคุมโรค ระดับจังหวัดและเขต.
ผังจุดหมายปลายทางการจัดการสุขภาพ จังหวัดสุรินทร์ ภายในปี 2555
เริ่ม ออก.
กฎหมายสิ่งแวดล้อม อาชีวอนามัยและความปลอดภัย 1 ประกาศคณะกรรมการค่าจ้าง เรื่อง อัตราค่าจ้างขั้นต่ำ ( ฉบับที่ 7) ประกาศในราชกิจจานุเบกษา 30 พฤศจิกายน 2555.
การป้องกัน การเสริมสร้างบทบาทองค์ ความรู้แก่ผู้นำทาง ความคิดของเด็กและ เยาวชน การพัฒนาความร่วมมือ ของ ภาคีเครือข่าย การขจัดสิ่งยั่วยุและ อิทธิพลจากสื่อ.
นโยบายกรมการแพทย์ ในการพัฒนาเครือข่ายวิชาการและการบริการตติยภูมิและศูนย์รับส่งต่อภูมิภาค โดย นายแพทย์เรวัต วิศรุตเวช อธิบดีกรมการแพทย์
สรุปผลการปิดอำเภอเป้าหมาย ปี 2556 ข้อมูล ณ วันที่ 31 กรกฎาคม 2557 สวผ. ศสท. สผส. และ สจก.
สรุปผลการปิดอำเภอเป้าหมาย ปี 2556 ข้อมูล ณ วันที่ 1 กันยายน 2557 สวผ. ศสท. สผส. และ สจก.
การพัฒนาคนตลอดช่วงชีวิต
แผนที่ยุทธศาสตร์กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ
ภาพรวมโครงการ CHILDLIFE ศูนย์อนามัยที่ 5 นครราชสีมา
ศูนย์พึ่งได้ เด็กที่ได้รับ ผลกระทบจาก เอดส์ เด็กเปราะบาง เด็กที่ติดเชื้อ เอชไอวี
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ไพรินทร์ บุตรแสนลี นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ กลุ่มงานส่งเสริมสุขภาพ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอุดรธานี

โครงการเอดส์รอบ 10 โครงการพัฒนาระบบการ ช่วยเหลือด้านสุขภาพ และการ คุ้มครองทางสังคมแบบองค์รวม สำหรับเด็กที่ได้รับผลกระทบ จากเอดส์ และเด็กที่อยู่ในภาวะ เปราะบางที่อยู่ในพื้นที่ที่มี สถานการณ์เอดส์สูง ได้รับการสนับสนุน งบประมาณจากกองทุนโรค

1. เพื่อส่งเสริมให้เด็กที่ได้รับผลกระทบ จากเอดส์ ได้รับบริการที่จำ เป็นได้เพิ่มขึ้น โดยเสริมความเข้มแข็ง ของชุมชนให้สามารถ สนับสนุนเด็กได้ 2. เพื่อส่งเสริมให้เด็กที่มีเชื้อเอชไอวี ได้รับบริการสุขภาพที่มี ประสิทธิภาพเพิ่มขึ้นและต่อเนื่อง วัตถุประสงค์

3. เพื่อประสานนโยบายและสร้างความ เข้มแข็งของกลไกทางสังคม ในการดูแลปกป้องคุ้มครองสิทธิของ เด็กที่ได้รับผลกระทบจาก เอชไอวี / เอดส์ 4. เพื่อจัดทำระบบฐานข้อมูล ระดับประเทศ ระบบการติดตาม ประเมินผลในการป้องกันและลด ผลกระทบในกลุ่มเด็กที่ได้รับผลกระทบ จากเอชไอวี / เอดส์ วัตถุประสงค์

ระยะเวลา ดำเนินการ ระยะเวลาดำเนิน โครงการ 5 ปี ( )

ศูนย์อนามัย (ศอ.)พื้นที่ดำเนินการ 29 จังหวัด แยกตาม ศอ. กทม(1) กรุงเทพมหานคร ศอ.1 กทม.(1) นนทบุรี ศอ.2 สระบุรี(1) ลพบุรี ศอ.3 ชลบุรี(3) ชลบุรี ระยอง จันทบุรี ศอ.4 ราชบุรี(4) ราชบุรี สุพรรณบุรี นครปฐม เพชรบุรี ศอ.5 นครราชสีมา(4) นครราชสีมา ชัยภูมิ บุรีรัมย์ สุรินทร์ ศอ.6 ขอนแก่น(3) ขอนแก่น ร้อยเอ็ด อุดรธานี ศอ.7 อุบลราชธานี(1) อุบลราชธานี ศอ.8 นครสวรรค์(1) นครสวรรค์ ศอ.9 พิษณุโลก(1) เพชรบูรณ์ ศอ.10 เชียงใหม่(4) เชียงใหม่ เชียงราย ลำปาง พะเยา ศอ.11 นครศรีธรรมราช(3) นครศรีธรรมราช สุราษฎร์ธานี ชุมพร ศอ.12 ยะลา(2) ตรัง สงขลา พื้นที่เป้าหมาย

อุดรธานี เป้าหมายปีที่ 1 ปี 2555 จังหวั ด อำเภอตำบล อุดรธ านี (23 ตำบล ) เมือง 11 ตำบล นิคมสงเคราะห์ บ้านเลื่อม บ้านขาว โนนสูง หนองบัว หนองขอนกว้าง สามพร้าว หมูม่น หมากแข้ง ( ทต. นคร ) กุดสระ หนองนาคำ หนองวัวซอ 2 ตำบล หนองวัวซอ กุดหมากไฟ กุมภวาปี 4 ตำบล กุมภวาปี ปะโค เชียงแหว ผาสุก กุดจับ 2 ตำบล ปะโค ขอนยูง พิบูลรักษ์ 2 ตำบล ดอนกลอย บ้านแดง ทุ่งฝน 2 ตำบล ทุ่งฝน ทุ่งใหญ่ รวมทั้งสิ้น 6 อำเภอ : 23 ตำบล

อุดรธานี เป้าหมายปีที่ 2 ปี จังหวั ด อำเภอตำบล อุดรธ านี ( 46 ตำบล ) เมือง 21 ตำบล ครอบคลุมทุกตำบล หนองวัวซอ 8 ตำบล ครอบคลุมทุกตำบล กุมภวาปี 5 ตำบล กุมภวาปี ปะโค เชียงแหว ผาสุก ห้วยสาม พาด ประจักษ์ ศิลปาคม 1 ตำบล ห้วยสามพาด กุดจับ 7 ตำบล ครอบคลุมทุกตำบล พิบูลรักษ์ 3 ตำบล ครอบคลุมทุกตำบล ทุ่งฝน 2 ตำบล ทุ่งฝน ทุ่งใหญ่ รวมทั้งสิ้น 7 อำเภอ : 46 ตำบล

เด็ก หมายถึง ผู้ที่มีอายุ แรกเกิดถึง 18 ปี 1. กลุ่มเด็กที่ได้รับผลกระทบจากเอดส์ หมายถึง - เด็กที่ติดเชื้อเอชไอวี - เด็กที่ไม่ติดเชื้อเอชไอวี แต่มีพ่อ / แม่ ติดเชื้อเอชไอวี หรืออาศัย อยู่กับผู้ติดเชื้อเอชไอวี หรือผู้มีโอกาส เสี่ยงสูงในการติดเชื้อ กลุ่มเป้าหมาย

2. กลุ่มเด็กเปราะบาง ได้แก่ 1) กำพร้า 2) เร่ร่อน 3) พิการ 4) ยากจน / อยู่ในภาวะยากลำบาก 5) ไร้สัญชาติ / ไร้สถานะกฎหมาย 6) สิ้นสุดหรืออยู่ในกระบวนการยุติธรรม 7) ถูกทารุณกรรม กลุ่มเป้าหมาย

1. หน่วยงานรับทุนหลักภาครัฐ : กรม ควบคุมโรค โดยมีหน่วยงานรับทุนรอง คือ - กรมอนามัย ( ด้านสุขภาพ ) - กระทรวง พม. ( ด้านปกป้อง คุ้มครองทางสังคม ) - องค์การ PATH ( ด้านวิชาการ ) - องค์การ PACT ( ด้านการ ติดตามประเมินผล ) 2. หน่วยงานรับทุนภาคเอกชน - มูลนิธิต่างๆ ได้แก่ รักษ์ไทย เครือข่าย ผู้ติดเชื้อฯศุภนิมิต พัฒนาเครือข่าย เอดส์ รักษ์เด็ก เอดส์แห่งประเทศไทย PLAN PPAT หน่วยงานสนับสนุน

กรอบแนวคิดโครงการ เด็กที่มีเชื้อเอชไอวี เด็กที่ได้รับผลกระทบ เด็กที่อยู่ในภาวะยากลำบาก คณะทำงานเด็กในชุมชนระดับตำบล พัฒนาระบบชุมชน พัฒนา ระบบ สุขภาพ พัฒนา ระบบ ปกป้องคุ้ม ครองทาง สังคม พัฒนา นโยบาย

ส่งเสริมสุขภาพ เฝ้าระวัง ป้องกัน ฟื้นฟู การจัดบริการระบบสุขภาพ ในสถานบริการ / ในชุมชน ประสานภาคีเครือข่าย ส่งต่อ ร่วมแก้ไขปัญหา

ขอขอบคุณ