ทิศทางอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี 2556

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพ จังหวัดตรัง ปี 2555 งานควบคุมโรคติดต่อ
Advertisements

เป้าหมาย ตัวชี้วัด และยุทธศาสตร์การดำเนินงาน กระทรวงสาธารณสุข 2557
การทำงานเชิงรุกและการส่งต่อ
ทิศทางการพัฒนา “อำเภอป้องกัน ควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน”
นายแพทย์พรเทพ ศิริวนารังสรรค์ อธิบดีกรมควบคุมโรค
การเตรียมความพร้อมกรมอนามัย เพื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ปี 2558
ขับเคลื่อน....ความร่วมมือ.... ด้านสุขภาพและสิ่งแวดล้อม ภาคเหนือ
ความหมายและกระบวนการ
ภาพรวมการจัดสรรงบประมาณในแต่ละโครงการของศูนย์ สช. ภาคกลาง ปี 2555
แบบนำเสนอผลงานโครงการ
“โครงการอำเภอควบคุมโรค เข้มแข็งแบบยั่งยืน กรมควบคุมโรค ปี 2555”
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
นโยบายอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี ๒๕๕๔
ยุทธศาสตร์ การป้องกันควบคุมไข้หวัดนก
ถอดบทเรียนความก้าวหน้า ในการนำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ สู่การปฏิบัติ
แนวคิด การดำเนินงาน โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
กิจกรรมประชุมพัฒนาการดำเนินงานป้องกัน ควบคุมโรคระดับจังหวัด ในเขตตรวจราชการสาธารณสุขที่ 4,5 ( การปรับปรุงการบริหารจัดการที่สนับสนุนการ ขับเคลื่อนงานอำเภอ.
คุณลักษณะที่ ๒ มีระบบระบาดวิทยาที่ดีในระดับอำเภอ
“การสนับสนุนเครือข่ายให้มีการพัฒนาการดำเนินงานอำเภอควบคุมโรค เข้มแข็งแบบยั่งยืน กรมควบคุมโรค ปี 2555” โดย ดร.นายแพทย์อนุพงค์ สุจริยากุล ผู้อำนวยการสำนักงานควบคุมป้องกันโรค.
นโยบายการดำเนินงานโรคเรื้อรัง ตัวชี้วัด: จังหวัดมีการดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคเรื้อรัง (สุขภาพดีวิถีชีวิตไทย) ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน โดย รัตนาภรณ์ ฮิมหมั่นงาน.
เอกสารประกอบการประชุมผู้บริหารกรมควบคุมโรค
อำเภอ ป้องกันควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน นพ.พงศ์ธร ชาติพิทักษ์
มาตรการในการป้องกันควบคุม โรค ในพื้นที่ระบาดและพื้นที่รอยต่อ 1. ตั้งศูนย์ปฏิบัติการฯ ( War room ) เฝ้าระวัง ประเมิน สถานการณ์ ระดมทรัพยากรในการแก้ไขปัญหา.
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดต่อทั่วไป ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 5 จังหวัดนครราชสีมา
สรุปภาพรวมการดำเนินงานที่ผ่านมา
แนวทางการดำเนินการป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออกปี2550
นโยบาย/แนวทางการดำเนินงาน และกลุ่มหญิงตั้งครรภ์
สรุปการวิเคราะห์ความสำเร็จและโอกาสพัฒนาในโครงการพัฒนาคุณภาพการดูแลผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วยเอดส์ ในภาพรวมของเขต 10 สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 10 เชียงใหม่
ระดับเขต : สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 4 จังหวัดราชบุรี
นโยบาย “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” เขตสาธารณสุข 4
(ส่วนที่เกี่ยวข้องกับพื้นที่)
การพัฒนาโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
LOGO งาน High Light การพัฒนา สุขภาพ จังหวัดลพบุรี ประจำปี 2552.
พัฒนาคุณภาพเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอและหน่วยบริการ ปฐมภูมิ
เครือข่ายคุ้มครองผู้บริโภคสาธารณสุขเขต 10 องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม ประจำเดือน กุมภาพันธ์ 2555 ดรุณี โพธิ์ศรี งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
ทิศทางการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคติดต่อนำโดยแมลง ปี 2556
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
ตัวชี้วัดงานอาชีวอนามัย ความสำเร็จการประเมินความเสี่ยงจากการทำงานของบุคลากรในโรงพยาบาล ปี 2555 ร้อยละของความสำเร็จ การประเมินความเสี่ยงจากการทำงานของบุคลากรในโรงพยาบาล.
สรุปบทเรียนโครงการเอดส์ ด้าน CARE
นโยบายการดำเนินงาน “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” ปีงบประมาณ 2556
การใช้ระบาดวิทยา เพื่อพัฒนาระบบเฝ้าระวังเหตุการณ์ในพื้นที่
นายแพทย์สมศักดิ์ อรรฆศิลป์ รองอธิบดี กรมควบคุมโรค
การป้องกันและควบคุมโรคในเขตบริการสุขภาพ
การพัฒนาอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน
แนวทางการดำเนินงานเกษตรกรปลอดโรค ปลอดภัย กายใจเป็นสุข
แผนปฏิบัติราชการ ปีงบประมาณ 2556 กลุ่มระบาดวิทยาและข่าวกรอง
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
ความท้าทาย....ศูนย์เด็กเล็กปลอดโรค
สรุปการประชุมกลุ่มย่อยที่ 1
การดำเนินงานโครงการสำคัญ และตัวชี้วัดความสำเร็จการดำเนินงาน กลุ่มที่ 2 (6.วัยรุ่น 7.วัยทำงาน 8.ป้องกันควบคุมปัจจัยเสี่ยง)
แนวทางดำเนินงานสุขภาพภาคประชาชน ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
นโยบายกรมสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2554
สำนักควบคุมการบริโภคยาสูบ
มาตรการป้องกันควบคุม โรคติดต่อในช่วงฤดูฝน - ให้คปสอ. ทุกแห่งเร่งรัดดำเนินการดังนี้ ๑. การป้องกัน (Protection) ๑. ๑ สนับสนุนการฝึกอบรมแก่บุคลากรทางการแพทย์ด้านการ.
ตัวอย่างกิจกรรมภายใต้บทบาทของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
สกลนครโมเดล.
1111 การขับเคลื่อน สู่ เป้าหมายกรม ควบคุมโรค ประจำปีงบประมาณ พ. ศ ดร. นายแพทย์พรเทพ ศิริวนา รังสรรค์ อธิบดีกรมควบคุมโรค 17 พฤษภาคม 2555.
การดำเนินงานระบาดวิทยาปี 2558
ทิศทางการจัดทำงบประมาณรายจ่าย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ กรมควบคุมโรค
ด้านการพัฒนาระบบควบคุมโรค
การป้องกัน การเสริมสร้างบทบาทองค์ ความรู้แก่ผู้นำทาง ความคิดของเด็กและ เยาวชน การพัฒนาความร่วมมือ ของ ภาคีเครือข่าย การขจัดสิ่งยั่วยุและ อิทธิพลจากสื่อ.
โรคติดต่อระหว่างสัตว์และคน
ยุทธศาสตร์พัฒนาชุมชนน่าอยู่ เมืองน่าอยู่ ผลงาน ปี 2551 แผนงาน ปี 2552 ศูนย์อนามัยที่ 9 พิษณุโลก 2 กันยายน 2551.
แนวทางการพัฒนาหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคฯ
สถานการณ์โรคติดต่อ อำเภอกำแพงแสน
“ทิศทางการบริหารจัดการเชิงยุทธศาสตร์ กรมควบคุมโรค
เกณฑ์การประกวดอำเภอดีเด่น ด้านการป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อ
ขับเคลื่อนงานด้านโรคไม่ติดต่อ และการบาดเจ็บ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ทิศทางอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี 2556 ทิศทางอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี 2556

“เพื่อสร้างความเชื่อมั่นในประสิทธิภาพและประสิทธิผลการควบคุมโรค” แผนการดำเนินงาน คร. ปีงบประมาณ พ.ศ. 2555-6 “เพื่อสร้างความเชื่อมั่นในประสิทธิภาพและประสิทธิผลการควบคุมโรค” พัฒนาระบบเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพ 1. พัฒนา “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” 2. พัฒนาทีมเฝ้าระวังสอบสวนเคลื่อนที่เร็ว (SRRT) เครือข่ายระดับตำบล เพื่อการเตรียมความพร้อมและ ตอบโต้รับมือต่อโรคและภัยสุขภาพที่มีประสิทธิภาพ 3. พัฒนาการพยากรณ์โรค 4. การพัฒนาเพื่อเตรียมความพร้อมเข้าสู่ AEC (IHR2005, Joint Outbreak Investigation, HR) โรคติดต่อ 5. ป้องกันและแก้ไขปัญหาเอดส์และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ในประชากรกลุ่มเป้าหมายเฉพาะ และพัฒนาคุณภาพบริการการดูแลรักษาผู้ติดเชื้อ เอชไอวี/เอดส์ผู้ใหญ่และเด็กในประเทศไทย 6. เร่งรัดผลการรักษาผู้ป่วยวัณโรคให้ ประสบความสำเร็จมากกว่า ร้อยละ 88 7. เฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคไข้เลือดออกเชิงรุกในอำเภอที่มีความเสี่ยงสูง 8. ป้องกันควบคุมโรคติดต่อในศูนย์เด็กเล็ก 9. พัฒนาเครือข่ายเพื่อขับเคลื่อนงานเร่งรัดกำจัด โรคพิษสุนัขบ้า ปี2555 (ชุมชนปลอดพิษสุนัขบ้า) 10. ขับเคลื่อนการดำเนินงานภายใต้ แผนวาระแห่งชาติด้านวัคซีน โรคไม่ติดต่อ และปัจจัยเสี่ยง 11. พัฒนามาตรการการควบคุมแอลกอฮอล์ระดับชาติ 12. พัฒนานโยบาย/กฏหมายและดำเนินการเฝ้าระวังยาสูบระดับชาติ (ชุมชนปลอดเหล้า,บุหรี่) 13. สื่อสาร รณรงค์ป้องกันควบคุมโรค ไม่ติดต่อเรื้อรัง (เบาหวาน ความดันโลหิตสูง หัวใจและหลอดเลือด) (ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรค) โรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม วัยทำงาน ลดโรค ปลอดภัย กายใจเป็นสุข 14. พัฒนาเกษตรกรปลอดโรค ผู้บริโภคปลอดภัย สมุนไพรล้างพิษ กายจิตผ่องใส 15. พัฒนางานอาชีวอนามัย ในสถานประกอบการ-ขนาดใหญ่ ในโรงพยาบาล ในบางอาชีพแท๊กซี่ จุดเน้นการพัฒนางานกรมควบคุมโรค 2555 เพื่อสร้างความเชื่อมั่นในประสิทธิภาพและประสิทธิผลการควบคุมโรค เน้นการพัฒนาระบบเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ โดยอาศัยกลไกและการพัฒนาเครื่องมือทางวิชาการ ดังนี้ - พัฒนา “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” ต่อเนื่อง - สร้างความเข้มแข็งทีมเฝ้าระวังสอบสวนเคลื่อนที่เร็ว (SRRT) - พัฒนาการพยากรณ์โรคเพื่อการเตือนภัยล่วงหน้า - มีแผนการดำเนินงานที่สำคัญในการควบคุมโรคดังนี้ กลุ่มโรคติดต่อ ป้องกันและแก้ไขปัญหาเอดส์และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ในประชากรกลุ่มเป้าหมายเฉพาะ และพัฒนาคุณภาพบริการการดูแลรักษาผู้ติดเชื้อเอชไอวี / เอดส์ผู้ใหญ่และเด็กในประเทศไทย - เร่งรัดผลการรักษาผู้ป่วยวัณโรคให้ประสบความสำเร็จมากกว่า ร้อยละ 85 - เฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคไข้เลือดออกเชิงรุกในอำเภอที่มีความเสี่ยงสูง - ป้องกันควบคุมโรคติดต่อในศูนย์เด็กเล็ก - พัฒนาเครือข่ายเพื่อขับเคลื่อนงานเร่งรัดกำจัดโรคพิษสุนัขบ้า ปี 2555 - จัดตั้งสถาบันวัคซีนแห่งชาติ เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเนื่องในโอกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 7 รอบ 5 ธันวาคม 2555 กลุ่มโรคไม่ติดต่อ และปัจจัย - พัฒนามาตรการการควบคุมแอลกอฮอล์ระดับชาติ - พัฒนานโยบาย / กฎหมายและดำเนินการเฝ้าระวังยาสูบระดับชาติ - สื่อสาร รณรงค์ป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (เบาหวาน ความดันโลหิตสูง หัวใจและหลอดเลือด) โรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม - พัฒนาเกษตรกรปลอดโรค ผู้บริโภคปลอดภัย สมุนไพรล้างพิษ กายจิตผ่องใสต่อเนื่อง - โรคและภัยสุขภาพจากมลพิษสิ่งแวดล้อม - โครงการแท็กซี่สุขภาพ (ส่งเสริมสุขภาพผู้ประกอบอาชีพขับแท๊กซี่และการป้องกันการระบาดของโรค)

แนวทางการดำเนินงาน/กิจกรรมปี 2556 (กรม คร.) แนวทางการดำเนินงาน/กิจกรรมปี 2556 (กรม คร.)  ด้านนโยบาย ผลักดันเป็นตัวชี้วัดผลการปฏิบัติงานของผู้ว่าราชการจังหวัด พัฒนากลไกความร่วมมือฯ ส่วนกลาง : กรมปกครองส่วนท้องถิ่น / สคร. : ผู้ว่าฯ เชิดชู ให้รางวัล :ศึกษาดูงานภายใน/ต่างประเทศ สัมมนาเครือข่ายกลุ่มงานควบคุมโรค กำหนดเป็นนโยบายที่ต่อเนื่อง 3 – 5 ปี

แนวทางการดำเนินงาน/กิจกรรมปี 2556 (กรม คร. ต่อ) ด้านวิชาการ อบรม SRRT ตำบล ที่เหลือ พัฒนาเกณฑ์และวิธีประเมินคุณลักษณะ “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” เชิงคุณภาพ ประเมิน เป็นพี่เลี้ยง พัฒนาอำเภอฯ ตามคุณลักษณะที่กำหนด สนับสนุนการจัดการความรู้เพื่อพัฒนางานควบคุมอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ติดตามและประเมินรับรองมาตรฐาน

ตัวชี้วัดสำคัญ ของงานอำเภอเข้มแข็งแบบยั่งยืน 2555 ตัวชี้วัดสำคัญ ของงานอำเภอเข้มแข็งแบบยั่งยืน 2555 ตัวชี้วัด 0303 ร้อยละ 50 ของอำเภอเป็นอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืนตามลักษณะที่กำหนด ตัวชี้วัด .....ร้อยละของทีม SRRT ตำบลมีรายงานการเฝ้าระวังโรคในพื้นที่ ผ่านระบบ Online ของสำนักระบาดวิทยา (รายเดือน ย้อนหลัง 6 เดือน) สำนักตรวจราชการเขต 10 กระทรวงสาธารณสุข สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอุดรธานี

ทิศทางดำเนินงานอำเภอเข้มแข็ง จ.อุดรธานี ปี 2556 ผลักดันเป็นตัวชี้วัด กพร.ประเมินจังหวัด (MOU สธ,มท แล้ว) เน้นให้อำเภอดำเนินการอย่างจริงจังตามตัวชี้วัด และผ่านการประเมินตามเกณฑ์ (เอกสาร รายงานตรวจสอบยืนยันได้) สนับสนุนความเข้มแข็งของ ทีม SRRT เครือข่ายระดับตำบลในการเฝ้าระวังโรคและภัยสุขภาพอย่างมีประสิทธิภาพ จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และประกวดอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็ง ระดับจังหวัด

ตัวชี้วัดสำคัญงานอำเภอเข้มแข็ง จ.อุดรธานี ปี 2556 ร้อยละความสำเร็จการดำเนินงานอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน อย่างมีคุณภาพ ร้อยละของการบันทึกเหตุการณ์ผิดปกติ (Events) online / รพ.สต./ เดือน (ย้อนหลัง 6 เดือนก่อนวันประเมิน)

อำเภอเข้มแข็งโรคตามนโยบายและโรคตามพื้นที่ จ.อุดรธานี