เรื่อง การสร้างตาราง (Table)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Datadictionary Prakan Sringam.
Advertisements

Introduction to C Introduction to C.
Microsoft Access อ.เล็กฤทัย ขันทองชัย Microsoft Access.
ทำความรู้จักและใช้งาน
สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
จัดการฐานข้อมูลด้วย Microsoft Access 2007
ประเภทของข้อมูล Excel 2007
Lecture 10 : Database Documentation
Data Structure โครงสร้างข้อมูล.
การใช้งานโปรแกรม Excel เบื้องต้น
อ.กิตติพงศ์ เซ่งลอยเลื่อน อาจารย์พิเศษ มหาวิทยาลัยแม่โจ้
บทที่ 2 รูปแบบของฐานข้อมูล.
สถาปัตยกรรมฐานข้อมูล
ความหมายของข้อมูลและสารสนเทศ
Computer Code เลขฐานสอง bit (binary digit ) 1 byte = A.
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับโปรแกรม Microsoft Office Access 2003
Week 6 ประกาศค่าตัวแปร.
Microsoft Access.
Visual Basic 6 By Samaporn Yendee VB6.
Microsoft Access.
HTML (คืออะไร) ภาษา HTML (HyperText Markup Language) เป็นภาษาที่ใช้คำสั่งที่เรียกว่า Tag มีทั้งเปิดและปิด เพื่อกำหนดบริเวณที่มีผลของคำสั่ง คำสั่งภาษา HTML.
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
Properties ของคอนโทรล ที่ควรรู้จักในเบื้องต้น
เรื่อง ประเภทของข้อมูล
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ (Personal Computer : PC)
การจัดการข้อมูลด้วยคอมพิวเตอร์
การแปลงโมเดลข้อมูลแบบ E-R เป็นโมเดลฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
การสร้างตาราง (Table)
โปรแกรม Microsoft Access
บรรณารักษชำนาญการพิเศษ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
ตัวแปร (Variable) คือ ชื่อที่ตั้งขึ้นเพื่อเก็บข้อมูลในหน่วยความจำ สามารถเก็บข้อมูลชนิดใดก็ ได้ ลักษณะที่สำคัญ ค่าที่จัดเก็บ เมื่อปิดโปรแกรมข้อมูลจะหายไป.
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
ระบบฐานข้อมูลทางการพยาบาล และ Microsoft Access 2003
การแปลงข้อมูลใน Excel เป็นฐานข้อมูลใน Access
3.3.2 การวิเคราะห์ การเรียกใช้ข้อมูล และการทำรายงานจากฐานข้อมูล
เรื่องข้อมูลและสาระสนเทศ
Flow Chart INT1103 Computer Programming
การแทนข้อมูล คอมพิวเตอร์เป็นอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ซึ่งใช้สัญญาณอิเล็กทรอนิกส์ในการทำงานเพื่อเก็บข้อมูล ประมวลผลและแสดงผลลัพธ์ การมองเห็นข้อมูลของคอมพิวเตอร์กับการมองเห็นข้อมูลของผู้ใช้จะไม่เหมือนกัน.
บทนำเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
ตัวแปรกับชนิดของข้อมูล
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ (Relational Database)
ระบบฐานข้อมูล (Database Management System)
ระบบคอมพิวเตอร์และการประมวลผล
โปรแกรม Microsoft Access
การใช้งาน ฐานข้อมูล การเขียนเว็บเพจด้วยภาษา php ศูนย์คอมพิวเตอร์ โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม.
การนำระบบเทคโนโลยีสารสนเทศมาสนับสนุนการทำงาน
โปรแกรม Microsoft Access
การจัดการฐานข้อมูล.
แฟ้มข้อมูล Data Management.
ง การงานอาชีพและเทคโนโลยี 1 ครูสหรัฐ บัวทอง
ชนิดของข้อมูล 1) ข้อมูลที่เป็นตัวเลข (Numeric Data) หมายถึง ข้อมูลที่ใช้แทนจำนวนที่สามารถนำ ไปคำนวณได้ ข้อมูลแบบนี้เขียนได้หลายรูปแบบ คือ           ก.
เครื่องคอมพิวเตอร์. ? เครื่องคำนวณอิเล็กทรอนิกส์ ประกอบด้วยวงจร อิเล็กทรอนิกส์และไอซี ชิปเซ็ต ต่างๆ ที่สามารถจดจำ ประมวลผลข้อมูล เปรียบเทียบ ตัดสินใจทาง.
การสร้างแบบสอบถาม และ การกำหนดเงื่อนไข.
หน่วยที่ 1 รู้จักกับฐานข้อมูล
รู้จักกับ Microsoft Access 2003
รหัสคอมพิวเตอร์.
เครื่องคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
MS Access (basic) By Kanok Khamhun. ฐานข้อมูล (Database) Database ( ฐานข้อมูล ) คือที่ เก็บรวบรวมข้อมูลที่มี ความสัมพันธ์ไว้ด้วยกัน ขึ้นอยู่ กับวัตถุประสงค์ของการเก็บ.
Access 2003 คืออะไร Access 2003 เป็นโปรแกรมที่ใช้ในการ จัดการกับฐานข้อมูล ซึ่งจะช่วยให้เรา จัดการกับข้อมูลปริมาณมากๆ ได้ ง่ายดาย เช่นการจัดเก็บข้อมูล,
หน่วยที่ 4 โครงสร้างโปรแกรมภาษาซี
บทที่ 12 ฐานข้อมูล.
Chapter 1 : Introduction to Database System
จากรูป ถามถึง Foreign key ของใบจัดสินค้า หากใครเลือกตอบ ในวงกลมสีเขียว ได้คะแนน นอกนั้น หักคะแนน  ส่วนเลขที่ใบ นั้น ถือเป็น.
บทที่ 6 พจนานุกรมข้อมูล และ คำอธิบายกระบวนการ
Microsoft Access Lesson 2 1 Microsoft Access (Lesson 2) อาจารย์อุทัย เซี่ยงเจ็น สำนักวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร มหาวิทยาลัยนเรศวร วิทยาเขต สารสนเทศพะเยา.
ตัวแปร และชนิดข้อมูล.
Microsoft Access 2007 นายวุฒิชัย คำมีสว่าง.
หลักการทั่วไปเกี่ยวกับการเขียนโปรแกรม
ใบสำเนางานนำเสนอ:

เรื่อง การสร้างตาราง (Table)

ความหมายของตาราง (Table) ตาราง (Table) เป็นแหล่งสำหรับเก็บข้อมูลที่มีการจัดข้อมูลเป็นฟิลด์และเรคอร์ด ใน Access ฐานข้อมูลหนึ่งประกอบไปด้วยตารางต่าง ๆ ในแต่ละตารางในฐานข้อมูลเดียวกันจะเก็บข้อมูลที่มีความเกี่ยวข้องกัน ในตารางจะเก็บข้อมูลซึ่งประกอบด้วยฟิลด์หลาย ๆ ฟิลด์

ชนิดของข้อมูล - Text ใช้เก็บข้อมูลประเภทข้อความ เครื่องหมายและตัวเลขที่ไม่ใช้ในการคำนวณ - Memo ใช้เก็บข้อมูลที่เป็นรายละเอียดปลีกย่อย ประโยค ข้อความ - Number เป็นการเก็บข้อมูลที่เป็นตัวเลขที่สามารถนำไปคำนวณได้ - Date/Time ใช้เก็บข้อมูลที่เป็นวันที่และเวลา - Currency ใช้เก็บตัวเลขทางการเงิน - AutoNumber ใช้เก็บตัวเลขที่ใช้ในการนับเพิ่มทีละหนึ่ง - Yes/No ใช้เก็บค่าทางตรรกศาสตร์ - OLE Object ใช้เก็บรูปภาพและกราฟ - Hyperlink เป็นการเชื่อมโยงไปยังไฟล์ภายนอก

1 Byte (ไบต์) = 1 ตัวอักษร  1 KB (กิโลไบต์) = 1024 ตัวอักษร  1 MB (เมกกะไบต์) = 1024 KB  1 GB (กิกะไบต์) = 1024 MB  1 TB (เทราไบต์)= 1024 GB 

ข้อจำกัดในการสร้างตาราง - ในแต่ละแถวจะประกอบด้วยฟิลด์ได้ไม่เกิน 255 ฟิลด์ - ในแต่ละตารางประกอบด้วยข้อมูล 128 MB - เก็บข้อมูลที่เป็นตัวอักษรได้ 64,000 ตัวอักษร - สามารถเก็บไฟล์ประเภท OLE Object ได้ 128 MB - ชื่อตารางสามารถตั้งได้ยาวถึง 64 ตัวอักษร(ยกเว้น . ! [ ])

กฎในการตั้งชื่อ Field - สำหรับชื่อฟิลด์นั้นจะยาวไม่เกิน 64 ตัวอักษรรวมช่องว่างด้วย - การตั้งชื่อฟิลด์ก็ซ้ำกันไม่ได้ - ในการตั้งชื่อฟิลด์สามารถใช้เครื่องหมายต่างๆได้ยกเว้น . ! [ ] - ห้ามนำหน้าฟิลด์ด้วยช่องว่าง - การตั้งชื่อฟิลด์สามารถบรรยายลักษณะของฟิลด์ได้

โครงสร้างของข้อมูล 1. บิต (Bit) เป็นหน่วยข้อมูลที่มีขนาดเล็กที่สุด ซึ่งเป็นข้อมูลที่เครื่องคอมพิวเตอร์สามารถเข้าใจและนำไปใช้งานได้ ได้แก่ เลข 0 และ เลข 1 2. ไบต์ (Byte) หรือ อักขระ (Character) ได้แก่ ตัวเลข หรือ ตัวอักษร หรือ สัญลักษณ์พิเศษ 1 ตัว เช่น 0,1…9,A, B,…Z ซึ่ง 1 ไบต์ จะเท่ากับ 8 บิต หรือ ตัวอักขระ 1 ตัว 3. ฟิลด์ (Flied) คือ อักขระ ตั้งแต่ 1 ตัวขึ้นไป รวมกันเป็น ฟิลด์ เช่น เลขประจำตัว ชื่อสกุล เป็นต้น

โครงสร้างของข้อมูล (ต่อ) 4. เรคคอร์ด (Record) คือ การนำเอาฟิลด์หลายฟิลด์และมีความสัมพันธ์มารวมกลุ่มกัน เช่น นักเรียนแต่ละคนจะมีข้อมูลที่เกี่ยวกับ ชื่อ สกุล อายุ เพศ เกรดเฉลี่ยฯลฯ โดยข้อมูลในลักษณะนี้คือ 1 เรคคอร์ด 5. แฟ้มข้อมูล หรือ ไฟล์ ( Flies) คือ เรคคอร์ดหลายๆ เรคคอร์ดรวมกัน และเป็นเรื่องเดียวกัน เช่น แฟ้มข้อมูลนักเรียนห้อง ม.1/1 จำนวน 50 คน ทุกคนจะมีข้อมูลเกี่ยวกับ ชื่อ สกุล เพศ อายุ เกรดเฉลี่ย ฯลฯ ซึ่งข้อมูลทั้งหมดนี้ของนักเรียนจำนวน 50 คนนี้ เรียกว่า แฟ้มข้อมูล 6. ฐานข้อมูล (Database) คือ การเก็บรวบรวมไฟล์หรือแฟ้มข้อมูลหลายๆ ไฟล์ที่เกี่ยวข้องมารวมกัน

ผังโครงสร้างของข้อมูล ฐานข้อมูล

แบบฝึกหัดเรื่อง การสร้างตาราง (Table) 2. การกำหนดชนิดข้อมูลในเขตข้อมูล (Field ) - Text คือ - Memo คือ - Number คือ - Date/Time คือ - Currency คือ - AutoNumber คือ 3. โครงสร้างของข้อมูล มีอะไรบ้าง พร้อมทั้งอธิบาย 4. ข้อจำกัดในการสร้างตาราง บอกมา 3 ข้อ 5. กฎในการตั้งชื่อฟิลด์ Field บอกมา 5 ข้อ