พีชคณิตบูลีน Boolean Algebra.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ระบบสมการเชิงเส้น F M B N เสถียร วิเชียรสาร.
Advertisements

ชนิดของข้อมูลในโปรแกรม Interactive C
บทที่ 2 รหัสควบคุมและการคำนวณ
รายวิชา ง40102 หลักการแก้ปัญหาและการโปรแกรม
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ เรื่อง จำนวนเชิงซ้อน
อสมการ 1.1 อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการเขียนโปรแกรม
พีชคณิตบูลีน Boolean Algebra.
ลอจิกเกต (Logic Gate).
BC320 Introduction to Computer Programming
เกตทางตรรกและพีชคณิตแบบบูล
ข้อผิดพลาดของโปรแกรม และตัวดำเนินการ
ชนิดของข้อมูลและตัวดำเนินการ
อสมการ.
การประยุกต์สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
บทที่ 2 Operator and Expression
PHP LANGUAGE.
คณิตศาสตร์และสถิติธุรกิจ
สมการเชิงอนุพันธ์อย่างง่าย
ตัวดำเนินการ (Operator) คือสัญลักษณ์หรือเครื่องหมายแทนการกระทำกับข้อมูล เพื่อบอกให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทราบว่าจะต้องดำเนินการใดกับข้อมูลใดบ้าง แบ่งออกเป็น.
รายวิชา ง23101 การเขียนโปรแกรมเบื้องต้น
หน่วยที่ 5 ตัวดำเนินการ (Operators)
Minimization วัตถุประสงค์ของบทเรียน
Boolean Algebra วัตถุประสงค์ของบทเรียน
Combination Logic Circuit
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โรงเรียนอัสสัมชัญอุบลราชธานี
การวิเคราะห์สหสัมพันธ์และการถดถอย
Surachai Wachirahatthapong
การลดรูป Logic Gates บทที่ 6.
Boolean Algebra พีชคณิตบูลลีน บทที่ 4.
Introduction to Digital System
บทที่ 4 การโปรแกรมเชิงเส้น (Linear Programming)
การเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ ด้วยภาษาจาวา
ดร.สุรศักดิ์ มังสิงห์ SPU, Computer Science Dept.
การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์และอัลกอริธึม
อสมการ (Inequalities)
ระบบจำนวนเต็ม โดย นางสาวบุณฑริกา สูนานนท์
การใช้งานเบื้องต้นของเครื่องคิดเลขทางการเงิน
หน่วยที่ นิพจน์ในภาษา C
ตัวแปร (variable) ตัวแปร เป็นชื่อที่เราตั้งขึ้น เพื่อให้คอมพิวเตอร์เตรียมที่ใน หน่วยความจำไว้สำหรับเก็บข้อมูลที่นำไปประมวลผล การตั้งชื่อตัวแปร ชื่อตัวแปรในภาษา.
ตัวดำเนินการ(Operator)
ทฤษฎีของพีชคณิตบูลีน (Boolean algebra laws)
Chapter 3 เครื่องหมายและการคำนวณ
ครูฉัตร์มงคล สนพลาย.
ง40208 การเขียนไดนามิกเว็บเพจ ศูนย์คอมพิวเตอร์ โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม
นิพจน์และตัวดำเนินการ
สัปดาห์ที่ 7 การแปลงลาปลาซ The Laplace Transform.
บทเรียนสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โดยใช้โปรแกรม Microsoft Multipoint
สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ (Computer Architecture)
เครื่องหมายและการดำเนินการ ในภาษา C
พีชคณิตบูลีน และการออกแบบวงจรลอจิก (Boolean Algebra and Design of Logic Circuit)
ตัวแปร ชนิดข้อมูล และ ตัวดำเนินการใน PHP
การหาผลคูณและผลหารของเลขยกกำลัง
ทบทวน กันก่อน .....กระบวนการแปลโปรแกรม
ชุดฝึกแทนค่าตัวแปรในนิพจน์พีชคณิต
บทที่ 4 นิพจน์ทางคณิตศาสตร์.
ค21201 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม 1
ตัวดำเนินการ และนิพจน์คณิตศาสตร์
การสร้างแบบสอบถาม และ การกำหนดเงื่อนไข.
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
Set Operations การกระทำระหว่างเซต
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
ค32214 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 4
การแก้ไขปัญหา วิชา เทคโนโลยีและสารสนเทศ
การกระทำทางคณิตศาสตร์
ตัวแปร และชนิดข้อมูล.
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว สอนโดย ครูประทุมพร ศรีวัฒนกูล
การเตรียมข้อมูล (Data preparation)
หลักการทั่วไปเกี่ยวกับการเขียนโปรแกรม
ใบสำเนางานนำเสนอ:

พีชคณิตบูลีน Boolean Algebra

ทำไมต้องมีพีชคณิตบูลีน ?

Boolean Algebra พีชคณิตบูลลีน เป็นเทคนิคทางคณิตศาสตร์ หลังจากถูกคิดค้นขึ้นโดย จอร์จ บูล (George Boole : 1815-1864) เกือบ 100 ปี จึงถูกนำมาใช้ โดยนักวิทยาศาสตร์ชื่อแชนนอน (Claude Shannan) ในปี ค.ศ. 1938 แชนนอน ได้นำหลักการนี้มาแก้ปัญหาในงานโทรศัพท์ที่ต้องใช้รีเลย์จำนวนมาก หลังจากนั้นได้มีการนำเอาหลักการทางพีชคณิตบูลลีนนี้ มาออกแบบวงจรคอมพิวเตอร์ซึ่งทำงานด้วยแรงดันเพียง 2 ระดับ

Boolean Algebra พีชคณิตทั่วไป พีชคณิตบูลีน แทนค่าด้วยเลข 0-9 (ฐานสิบ) หาผลลัพธ์โดยการบวก ลบ คูณ หาร แทนค่าด้วย 0 และ 1 (ฐานสอง) หาผลลัพธ์โดยตัวดำเนินการ AND, OR และ NOT ตัวแปรในพีชคณิตบูลลีน มักจะใช้ตัวอักษรพิมพ์ใหญ่ เช่น A, B,…. โดยค่าของตัวแปรแต่ละตัวอาจจะเป็น 0 หรือ 1 ก็ได้ ตัวแปรจะเป็นตัวถูกกระทำโดยตัวดำเนินการ

Boolean Algebra X = NOT A การดำเนินการแบบ NOT ในพีชคณิตบูลลีน จะเขียนเครื่องหมายขีดบนตัวอักษรเรียกว่า บาร์ (bar) แทนตัวดำเนินการ NOT ซึ่งสามารถเขียนได้ดังนี้ อ่านว่า “X เท่ากับนอต A” หรือ “X เท่ากับคอมพลีเมนต์ของ A”

X = A + B Boolean Algebra X = A OR B การดำเนินการแบบ OR ในพีชคณิตบูลลีนจะเรียกการออร์ (OR) ว่าเป็นการบวกแบบบูลลีน จึงใช้เครื่องหมาย + (บวก) แทนตัวดำเนินการ OR ดังนี้ X = A + B อ่านว่า “X เท่ากับ A ออร์ B” ผลลัพธ์ของเทอมบวกจะมีค่าเป็น 1 เมื่อตัวแปรตั้งแต่หนึ่งตัวขึ้นไปมีค่าเป็น 1

Boolean Algebra การดำเนินการแบบ AND X = A AND B X = A·B แต่การเขียนโดยทั่วไปจะไม่ใส่จุดเพราะเขียนง่าย สะดวกกว่าและถือเป็นรูปแบบมาตรฐานของนิพจน์การแอนด์ ดังนี้ X = AB

Boolean Theorems A1 = ? A+0 = ? AA = ? A+A = ? A0 = ? A+1 = ?

Boolean Theorems

Boolean Theorems

RULE 1

RULE 2

RULE 3

RULE 4

RULE 5

RULE 6

RULE 7

RULE 8

RULE 9

Practice จงลดรูปสมการต่อไปนี้โดยการใช้พีชคณิตบูลีน 1. Solution

Practice จงลดรูปสมการต่อไปนี้โดยการใช้พีชคณิตบูลีน 2. XZ Solution

การพิสูจน์ทฤษฎีพีชคณิตบูลีน การพิสูจน์ทฤษฎีพีชคณิตบูลี มีกระบวนการหลายวิธีดังเช่นการสร้างวงจรทางตรรกะ หรือการใช้ตารางความจริงพิสูจน์ การสร้างวงจรทางตรรกะเป็นการสร้างวงจรจริงในการตรวจหาคำตอบ ซึ่งจะกล่าวถึงในเนื้อหาส่วนถัดไป การพิสูจน์โดยใช้ตารางความจริง (Truth Table) ซึ่งเป็นวิธีการที่ง่ายในการตรวจสอบ การตรวจสอบจะใช้หลักการของวงจรตรรกะแต่ละตัว

จงใช้ตารางความจริงพิสูจน์ว่า A+AB=A

การเขียนวงจรตรรกะเบื้องต้น (Basic of Logic Circuit Design) ในการเขียนวงจรตรรกะเบื้องต้นจะเขียนตามการกระทำของวงจรตรรกะนั้น โดยเทอมที่คูณกันจะใช้ แอนด์เกต (AND Gate) เทอมที่ทำการบวกกันจะใช้ออร์เกต (OR Gate) เทอมที่อยู่ในวงเล็บเดียวกันจะใช้เกตตามชนิดของการกระทำในเทอมนั้น ในการเขียนวงจรตรรกะให้มีประสิทธิภาพนั้นหลักการคือเราจะต้องลดรูปโดยใช้ทฤษฎีของบูลีน ทั้งนี้ก็เพื่อให้วงจรตรรกะที่เราต้องการมีจำนวนเกตน้อยที่สุดหรือมีการลงทุนในการสร้างวงจรต่ำ นอกจากนี้ยังเป็นการลดเวลาในการทำงานของวงจร (Delay time) อีกด้วย