Method of Class อ.สุพจน์ สิงหัษฐิต

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โครงสร้างโปรแกรมภาษา JAVA
Advertisements

Suphot Sawattiwong Array ใน C# Suphot Sawattiwong
The InetAddress Class.
Suphot Sawattiwong Function ใน C# Suphot Sawattiwong
Lab Part Nattee Niparnan
การจัดการความผิดพลาด
Chapter 7 ขอบเขตของตัวแปร Variable Scope.
05_3_Constructor.
ปฏิบัติการครั้งที่ 9 ฟังก์ชัน.
การเขียนโปรแกรมภาษาจาวาตอนที่ ๓
ครั้งที่ 7 Composition.
การประกาศตัวแปร “ตัวแปร” คือสิ่งที่เราสร้างขึ้นมาเพื่อใช้เก็บค่าต่างๆและอ้างอิงใช้งานภายในโปรแกรม ตามที่เรากำหนดขึ้น การสร้างตัวแปรขึ้นมาเราเรียกว่า.
หลักการเชิงวัตถุ อาจารย์ศิริพร ศักดิ์บุญญารัตน์
Selected Topics in IT (Java)
การสืบทอด (Inheritance)
การเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ ด้วยภาษาจาวา
บทที่ 3 Class and Object (1) การสร้างและการใช้งานคลาส
คลาสและวัตถุ (2) (Class & Object)
 เป็นเมธอดที่มีคุณลักษณะของ Polymorphism รูปแบบหนึ่ง โดยใช้ชื่อเมธอดเดียวกัน มากกว่า 1 เมธอด เพื่อทำงานในแบบเดียวกัน  คลาสลูกสามารถเขียนทับ เมธอดของคลาสแม่ได้
บทที่ 1 หลักการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ
คลาสและวัตถุ (3) (Class & Object)
คลาสและวัตถุ (2) (Class & Object)
คลาสและวัตถุ (4) (Class & Object)
คลาสและวัตถุ (3) (Class & Object). w5_000.rar การใช้งานเมธอดภายในคลาสเดียวกัน ข้อ 24, 25 as5_000.rar การใช้งานเมธอดภายในคลาสเดียวกัน ข้อ 23 2.
คลาสและวัตถุ (4) (Class & Object)
บทที่ 4 Method (1).
การสืบทอดคุณสมบัติ (Inheritance)
Inheritance การสืบทอดคลาส
String Class มหาวิทยาลัยเนชั่น การโปรแกรมเชิงวัตถุด้วยภาษา JAVA
อาร์เรย์ หรือแถวลำดับ (Array)
Page: 1 การโปรแกรมเชิงวัตถุด้วยภาษา JAVA บุรินทร์ รุจจนพันธุ์.. ปรับปรุง 15 มิถุนายน 2550 Structure Programming มหาวิทยาลัยเนชั่น.
Page: 1 การโปรแกรมเชิงวัตถุด้วยภาษา JAVA บุรินทร์ รุจจนพันธุ์.. ปรับปรุง 3 มิถุนายน 2550 Method of Class มหาวิทยาลัยเนชั่น.
Page: 1 การโปรแกรมเชิงวัตถุด้วยภาษา JAVA บุรินทร์ รุจจนพันธุ์.. ปรับปรุง 7 มิถุนายน 2556 Text File Processing มหาวิทยาลัยเนชั่น.
Page: 1 การโปรแกรมเชิงวัตถุด้วยภาษา JAVA บุรินทร์ รุจจนพันธุ์.. ปรับปรุง 22 มิถุนายน 2550 ความผิดพลาดที่พบ บ่อย มหาวิทยาลัยเนชั่น.
บทที่ 8 อาร์เรย์.
บทที่ 6 เมธอด.
JAVA PROGRAMMING PART IV.
Handling Exceptions & database
ฟังก์ชัน ง30212 การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ ศูนย์คอมพิวเตอร์
โปรแกรมภาษาจาวาเบื้องต้น Basic Java Programming 3(2-2-5)
เมธอดคือหน้าที่การงานของวัตถุให้เรียกใช้
Liang, Introduction to Java Programming, Sixth Edition, (c) 2007 Pearson Education, Inc. All rights reserved Java Programming Language.
ความสัมพันธ์ระหว่างคลาส (Class Relationship)
ตัวแปรกับชนิดของข้อมูล
Object Oriented Programming Handling Exceptions
Lec03 :: หลักการเชิงออปเจ็ค (Object Oriented Concept)
Object-Oriented Programming
บทที่ 3 Class and Object (2).
บทที่ 2 การแสดงผลและรับข้อมูล
บทที่ 4 คำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก
Java collection framework
Java Programming Java Structure and Datatype,Variable
สายอักขระ เขียนโปรแกรม Java เบื้องต้น.
Java Network Programming 1
chapter5 - คลาสนามธรรม - อินเตอร์เฟสคลาส
TECH30201 Object-Oriented Programming
Inheritance และ Encapsulation.  การสร้างหรือพัฒนาคลาสใหม่จากคลาสเดิมที่ มีอยู่แล้ว  คลาสใหม่จะนำแอตทริบิวต์และเมธอดของ คลาสเดิมมาใช้  เป็นการถ่ายทอดคุณสมบัติจากคลาสหนึ่งสู่อีก.
Object-Oriented Programming
เมธอดคือหน้าที่การงานของวัตถุให้เรียกใช้
คอนสตรัคเตอร์ (Constructor)
Function ธนวัฒน์ แซ่ เอียบ. What is a function ฟังก์ชันในภาษา C เป็นโปรแกรมที่ถูกออกแบบมาเพื่อ ใช้แก้ปัญหางานใดงานหนึ่งโดยเฉพาะ ฟังก์ชันจะเปลี่ยน input.
การจัดการกับความผิดปกติ
chapter 2 - Construction and destruction - Overloading method
บทที่ 6 ตัวแปรชุดและ สตริง รายวิชา ง การเขียนโปรแกรมเชิง วัตถุ Reading: ใบความรู้ บทที่ 6.
Function. วัตถุประสงค์การเรียนรู้ ให้รู้จักว่าฟังก์ชันคืออะไร ให้รู้จักว่าเราสร้างฟังก์ชันเพื่อจุดประสงค์ใด หรือ เพื่อประโยชน์ใด ให้รู้จักประเภทของฟังก์ชัน.
เริ่มต้นเขียนโปรแกรมภาษาจา วา (Introduction to JAVA Programming)
Programming assignments ชื่องาน (subject) : program เขียนด้วยภาษา C หรือ C++ มีทั้งหมด 7 ข้อ กำหนดส่ง 29 กรกฎาคม 2554.
Chapter 6 Abstract Class and Interface
บทที่ 3 การสืบทอด (Inheritance)
Method and Encapsulation
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Method of Class อ.สุพจน์ สิงหัษฐิต การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ชั้นสูง ด้วยภาษา JAVA Method of Class อ.สุพจน์ สิงหัษฐิต E-mail supot10@hotmail.com Phone 081-5150-720

การนิยามเมธอด (Definition Method) Accessibility return_data_type methodName (parameter_list) { statement ; statement; } - Accessibility คือ การระบุคำนำหน้า Method ด้วยคำว่า private, protect, public และ static เพื่อให้ทราบว่า method นั้นเป็น method ชนิดใด - return_data_type คือ การระบุชนิดข้อมูลที่จะใช้ในการ return ค่ากลับของ method เช่น ข้อมูลชนิด String ,int หรือ double หาก method นั้นไม่ต้องการให้ return ค่ากลับ ให้ระบุคำนำหน้าด้วย “void” แทนที่ชนิดข้อมูล - methodName คือ ชื่อ method ที่เราตั้งขึ้น (ไม่ซ้ำกับ Keyword) - parameter_list คือ ตัวแปรที่ใช้ในการรับค่า ของ method นั้น ๆ สามารถใช้ตัวแปรได้หลายตัว โดยที่ตัวแปร parameter นั้นไม่จำเป็นต้องใช้ข้อมูลชนิดเดียวกัน หรือ method ที่คุณสร้างนั้นอาจไม่จำเป็นต้องใช้ตัวแปร parameter ก็ได้ - statement คือ ประโยคคำสั่งภายใน body ของ method นั้น ๆ

public static void main( String args[] ) { Method of Class public class maxmin { public static void main( String args[] ) { System.out.println("Hello World!"); }  

Method ตัวอย่างเช่น public static void ann(int a) // หลังเครื่องหมายวงเล็บ ( ) ไม่ใส่เครื่องหมาย (; ) { statement; } Note : การสร้าง Method นั้นต้องกระทำนอก body ของ main()

การเรียกใช้ Method (Call Method) เนื่องจากการสร้าง method นั้นจะต้องสร้างไว้ภายนอก body ของ method main() ซึ่งเป็น method หลักในการเริ่มทำงานของโปรแกรม ดังนั้นการเรียกใช้ method ที่สร้างขึ้นจะต้องถูกเรียกภายใน method main() โดยใช้ syntax ดังนี้   รูปแบบ ชื่อ Method();

การเรียกใช้ Method ตัวอย่างเช่น public class maxmin { public static void ann(int a) { statement; statement; } //end method ann() public static void main( String args[] ) { ann(); // call method ann() } //end main() } //end class  

object & class(4/12) เรียกใช้ Constructor ตามด้วย method ชื่อ fly class hello4 { public static void main(String args[]){ new AirPlane().Fly(); }

object & class(5/12) เรียกใช้ Constructor ครั้งเดียว และเรียก method ตามต้องการ class hello5 { public static void main(String args[]){ AirPlane abc = new AirPlane(); abc.Fly(); abc.Land(); }

object & class(6/12) เรียกใช้ main จาก external class class hello6 { public static void main(String args[]){ AirPlane abc = new AirPlane(); String a[] = {}; // new String[0]; abc.main(a); }

object & class(7/12) class hello7 { public static void main(String args[]){ minihello(); } static void minihello() { System.out.println("burin testing");

object & class(8/12) class hello8 { public static void main(String args[]){ hello8 x = new hello8(); x.minihello(); } static void minihello() { System.out.println("wow");

object & class(9/12) class hello9 { public static void main(String args[]){ hello9 xx = new hello9(); System.out.println(xx.oho(4)); } int oho(int x) { return (x * 2);

object & class(10/12) class hello10 { public static void main(String args[]){ System.out.println(oho(5)); } static int oho(int x) { x = x * 2; return x;

object & class(11/12) Constructor ของ AirPlane จะไม่ถูกเรียกมาทำงาน class hello11 extends AirPlane { public static void main(String args[]){ Fly(); Land(); }

object & class(12/12) Constructor ของ AirPlane จะถูกเรียกมาทำงาน แม้ไม่เรียกใช้ Fly() หรือ Land() ก็ตาม class hello12 extends AirPlane { hello12() { Fly(); Land(); } public static void main(String args[]){ new hello12();