การพัฒนาระบบฐานข้อมูล

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การสอนงาน (Coaching) Internal Training & Coaching
Advertisements

การวางแผนพัฒนาระบบสำนักงาน
เทคโนโลยีฐานข้อมูลสำนักงาน
การเขียนผลงานวิชาการ
ประเภท โครงการต่อยอด/ขยายผลโครงการเดิม(A)
การกำหนดปัญหา และความต้องการ (Problem Definition and Requirements)
แนวทาง การทำงานในเชิงรุก
พิมพ์ชื่อบริษัทหรือหน่วยงาน
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
Visual Control งานโภชนาการ รพ.สงขลานครินทร์.
ADDIE model หลักการออกแบบของ
หลักการออกแบบของ ADDIE model ADDIE model
สถาปัตยกรรมฐานข้อมูล
ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา
การดำเนินงานสุขศึกษา ในชุมชน
การเตรียมเอกสาร สอบหัวข้อโครงงาน
บทที่ 2 วิธีการพัฒนาซอฟต์แวร์
การวิเคราะห์ความต้องการด้านระบบ
การวางแผนและการดำเนินงาน
สรุปข้อดีข้อเสีย Proprietary VS Off-the-shelf Software
Use Case Diagram.
PDCA คืออะไร P D C A.
การขอจัดตั้งส่วนราชการ
Surachai Wachirahatthapong
หลักสูตรการจัดการทั่วไป
การเริ่มต้นและการวางแผนโครงการ
ความหมาย ปัญญาประดิษฐ์
บทที่ 2 การพัฒนาระบบ (System Development)
การวางแผนและ การจัดทำ IT Audit
สัมมนาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ
การวิเคราะห์การปฏิบัติงาน
บุคลากร (Peopleware) บุคลากรทางด้านระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ ค่อนข้างมีความจำเป็นที่ต้องมีความรู้หลากหลาย และมีความสนใจเทคโนโลยีสารสนเทศใหม่ๆ เสมอ และคอยติดตามข่าวสารความเป็นไปของเทคโนโลยีทางด้านนี้
การรวบรวมความต้องการ (Requirements Gathering)
ผู้รับผิดชอบ : สำนักงาน ก.ก.
วิธีการทางคอมพิวเตอร์
การออกแบบฐานข้อมูลและการบริหารธุรกิจ
System Development Lift Cycle
ระบบเอกสารคุณภาพ เนาวรัตน์ เสียงเสนาะ สอิด
เรื่องข้อมูลและสาระสนเทศ
ที่ใช้ใน Object-Oriented Design
การเพิ่มผลผลิต Productivity
ความเสี่ยงด้านการปฏิบัติงาน (Operational Risk)
ทบทวนทฤษฎีหลักสูตร ดร.อมรา เขียวรักษา.
เรื่องหลักการแก้ปัญหา
Geographic Information System
รายละเอียดประสบการณ์ภาคสนาม (Field Experience Specification)
II > วงจรการพัฒนาระบบ (System Development Life Cycle)
2.1 วิธีแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์ (Computer problem solving methods)
บทเรียนจากการเก็บข้อมูลภาคสนามเพื่อการติดตามตาม HIVDR-EWI
การเขียนเกณฑ์การประเมิน (Rubric)
ระบบสารสนเทศ เพื่อการบริหาร
การจัดการฐานข้อมูล.
การเร่งโครงการ Expedite Project.
Easy way to Estimate Training Project
ปัญหาคืออะไร. การวิเคราะห์ขั้นตอนวิธีการแก้ไขปัญหา รายวิชา การโปรแกรมและการประยุกต์ (ง30222)
งานเทคโนโลยีสารสนเทศ โรงเรียนพนมเบญจา
หลักการแก้ปัญหา.
บทที่ 2 การจัดการสารสนเทศ.
การควบคุมผลกาปฏิบัติงาน
ADDIE Model.
ระบบฐานข้อมูล.
Planing : ระบบการวางแผนงบประมาณ
การสร้างสื่อ e-Learning
การวางแผนการใช้สื่อ    การใช้สื่อการสอนต้องมีการวางแผน โดยในขั้นของการวางแผนคือ การ พิจารณาว่าจะเลือกใช้สื่อใด ในการเรียนการสอน ในการใช้สื่อใน การเรียนการสอนการวางแผนการใช้สื่อนับเป็นขั้นตอนแรก.
ให้โอกาสผู้เรียนมีส่วนร่วมรับผิดชอบ สร้างความมีวินัย การตรงต่อเวลา
บทที่3 ระบบการผลิตและการวางแผนกระบวนการผลิต
การออกแบบสื่อเพื่อการศึกษา ADDIE Model
ชื่อโครงการ ผู้นำเสนอ ฝ่าย วันที่ การประชุมนำเสนอผลการปฏิบัติงานโครงการประจำปีงบประมาณ พ. ศ.2550 นายเกษม วงค์แสน เครือข่ายสื่อสารและบริการวิทยาเขต 30 พฤษภาคม.
รายงานผลการพัฒนาความรู้เกี่ยวกับระบบสารสนเทศสำหรับบุคลากร วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่ ผู้วิจัย อาจารย์จิตรสนา พรมสุทธิ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
เทคนิควิธีในการจัดการเรียนการสอน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การพัฒนาระบบฐานข้อมูล

ขั้นตอนการพัฒนาระบบแบ่งได้ดังนี้ 1. การวิเคราะห์ระบบ 2. การออกแบบระบบ 3. การสร้างระบบ 4. การทดสอบและแก้ไขระบบ 5. การนำระบบไปใช้งาน 6. การบำรุงรักษาระบบ

1. การวิเคราะห์ระบบ ก่อนสร้างระบบงานจะต้องศึกษารายละเอียดของระบบงานที่ต้องการ ถ้าขาดความเข้าใจในความต้องการของระบบที่สร้าง จะทำให้เสียเวลาและค่าใช้จ่าย การวิเคราะห์ระบบอาจเริ่มจากการระบุเป้าหมายของงานไว้อย่างคร่าวๆ

2. การออกแบบระบบ ข้อมูลที่ได้จากการวิเคราะห์ระบบ เมื่อนำมาออกแบบระบบ จะประกอบด้วยงาน ดังนี้ 2.1 การออกแบบฐานข้อมูล 2.2 การออกแบบส่วนนำเข้า 2.3 การออกแบบรายงาน 2.4 การออกแบบการประมวลผลที่ต้องการ

3. การสร้างระบบ การสร้างระบบเป็นการนำระบบจัดการฐานข้อมูลมาทำการสร้างฐานข้อมูลและการประมวลผลทั้งหมดของระบบ

4. การทดสอบและแก้ไขระบบ 4. การทดสอบและแก้ไขระบบ ระบบที่ได้สร้างขึ้นจำเป็นต้องได้รับการทดสอบ ว่าสามารถทำงานได้ตามเป้าหมายที่ได้กำหนดหรือไม่ ทดสอบความถูกต้องของการกำหนดโครงสร้างฐานข้อมูล รูปแบบของการประมวลผล และความถูกต้องในการทำงาน การทดสอบต้องทำด้วยความละเอียดถี่ถ้วน แม้ต้องใช้เวลามากเพราะดีกว่าปล่อยให้เกิดความผิดพลาดเมื่อนำไปใช้งานจริง

5. การนำระบบไปใช้งาน ผู้พัฒนาระบบจำเป็นต้องเตรียมการ และวางแผนการดำเนินงาน เพื่อไม่ให้เกิดการหยุดชะงักของการปฏิบัติงาน ปกติที่ทำอยู่ เช่น การเตรียมการด้านคอมพิวเตอร์ และวัสดุใช้งานที่เกี่ยวข้อง การฝึกอบรมเจ้าหน้าที่ให้เข้าใจการปฏิบัติงานใหม่ การย้ายข้อมูลจากระบบงานปัจจุบันไปใช้ในระบบงานใหม่ การเปลี่ยนการปฏิบัติงานมาใช้ระบบงานใหม่ และการกำหนดเวลาที่เหมาะสมในการปรับเปลี่ยน

6. การบำรุงรักษาระบบ แม้ระบบมีการทดสอบมาแล้วก็ตาม เมื่อใช้งานไปสักระยะหนึ่ง อาจพบว่ายังมีบางส่วนที่ไม่ถูกต้อง หรือผู้ใช้อาจพบว่าระบบใหม่ยังไม่สะดวกเท่าที่ควร ดังนั้นเราอาจต้องทำการแก้ไขระบบที่ได้พัฒนาให้สามารถทำงานได้ถูกต้อง สะดวกขึ้น หรือเป็นไปตามความต้องการที่เปลี่ยนไป เราเรียกการปรับปรุงแก้ไขนี้ว่าการบำรุงรักษาระบบ

ภาระงานที่ 2.1 จงตอบคำถามต่อไปนี้ การพัฒนาระบบมีกี่ขั้นตอน ประกอบด้วยอะไรบ้าง จงอธิบาย

Thanks!