การประชุมชี้แจงรายละเอียด

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ห้องประชุม โรงเรียนเทศบาล 7 ฝั่งหมิ่น
Advertisements

การเตรียมความพร้อมในการเสนอโครงการภายใต้แผนปฏิบัติการฯในระดับจังหวัด
นโยบายและแนวทาง การจัดการมูลฝอยติดเชื้อ ของกรุงเทพมหานคร
บทคัดย่อ การศึกษาสถานการณ์ การใช้กฎหมายสาธารณสุขของ
สิ่งแวดล้อม เทคโนโลยีและชีวิต
ทิศทางการพัฒนา “อำเภอป้องกัน ควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน”
ประเด็นยุทธศาสตร์ พัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อม ปี
แนวทางการตรวจราชการและนิเทศงานกรณีปกติระดับกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข เขตตรวจราชการที่ 5 ประจำปีงบประมาณ
การพัฒนาระบบสารสนเทศ : ด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม
กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
การพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ
ตัวชี้วัดตามคำรับรองของ กพร. กรมส่งเสริมสหกรณ์
ตัวชี้วัดตามแผนงานงบประมาณ
โครงการเงินอุดหนุนทั่วไป ภายใต้แผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง 2555
แผนการขับเคลื่อนกรอบคุณวุฒิแห่งชาติสู่การปฏิบัติ
การประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ กับกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
ความก้าวหน้าการดำเนินงาน
ตัวชี้วัดการดำเนินงานความปลอดภัยด้านอาหาร สำนักสุขาภิบาลอาหารและน้ำ
ขับเคลื่อน....ความร่วมมือ.... ด้านสุขภาพและสิ่งแวดล้อม ภาคเหนือ
แนวทางการดำเนินงานโครงการสำคัญ ปีงบประมาณพ.ศ.2554 กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับแผนชุมชน
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูล จปฐ. และ ข้อมูลพื้นฐาน ปี 2557
กรมการพัฒนาชุมชน พันธกิจ วิสัยทัศน์ ประเด็นยุทธศาสตร์ วิสัยทัศน์
รายงานผลการดำเนินงานประจำปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๔
- ร่าง - แบบรายงานผลการดำเนินงานของจังหวัดตามนโยบายรัฐบาล นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตรี
ความก้าวหน้าของการจัดการ ลุ่มน้ำทะเลสาบสงขลา
แนวทางการสนับสนุนงบประมาณ องค์กรเอกชนด้านเอดส์
“การสนับสนุนเครือข่ายให้มีการพัฒนาการดำเนินงานอำเภอควบคุมโรค เข้มแข็งแบบยั่งยืน กรมควบคุมโรค ปี 2555” โดย ดร.นายแพทย์อนุพงค์ สุจริยากุล ผู้อำนวยการสำนักงานควบคุมป้องกันโรค.
เอกสารประกอบการประชุมผู้บริหารกรมควบคุมโรค
รายประเด็น ปีงบประมาณ 2553
นโยบาย และแนวทางการแก้ไขปัญหาโรคเบาหวาน ระดับประเทศและภูมิภาค
- ร่าง - แบบรายงานผลการดำเนินงานของจังหวัดตามนโยบายรัฐบาล นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตรี
ผลการพัฒนาการบันทึกข้อมูล HIV-QualT ในโรงพยาบาลระโนด จ. สงขลา. โดย นส
ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่อง การทำรายงานเกี่ยวกับการศึกษามาตรการป้องกันและแก้ไขผลกระทบต่อคุณภาพสิ่งแวดล้อมและความปลอดภัย พ.ศ ประกาศในราชกิจจานุเบกษาวันที่
ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เรื่อง กำหนดให้เตาเผามูลฝอยเป็นแหล่งกำเนิดมลพิษ ที่จะต้องถูกควบคุมการปล่อยทิ้งอากาศเสียออกสู่บรรยากาศ ประกาศในราชกิจจานุเบกษาวันที่
โครงการจัดทำแผนการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำอย่างเป็นระบบ (การจัดทำฐานข้อมูลและสารสนเทศภูมิศาสตร์ ลุ่มน้ำสาขาหรือลุ่มน้ำย่อยนำร่อง)
คู่มือการจัดทำแผนปฏิบัติการ ป้องกันและลดอุบัติเหตุทางถนน
นโยบาย “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” เขตสาธารณสุข 4
ทิศทางการบริหารงบประมาณ สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
ระดับท้องถิ่น/พื้นที่
สรุปการประชุม เขต 10.
๒๕ ธ.ค. ๒๕๕๑ ณ โรงแรมมิราเคิล แกรนด์ คอนเวนชั่น กรุงเทพฯ
พัฒนาคุณภาพเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอและหน่วยบริการ ปฐมภูมิ
โครงการบริหารความเสี่ยงทั่วทั้งองค์กร (Enterprise Risk Management : ERM) สำนักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม ประจำปีงบประมาณ พ.ศ
โดยนางสาวจงจิตร์ นีรนาทเมธีกุล ผู้อำนวยการสำนักงานสิ่งแวดล้อมภาคที่ 16
นโยบายการดำเนินงาน “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” ปีงบประมาณ 2556
หลักการและเหตุผล หน่วยงานภาครัฐ/ เอกชน ต่างคนต่างทำงานไม่ได้เชื่อมประสานการทำงานเป็นเครือข่าย โรคและภัยสุขภาพเกิดขึ้นในทุกพื้นเพียงแต่แตกต่างกันในรายละเอียด.
แนวทางการดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมกรณีอุทกภัย
สำนักงานเกษตรจังหวัดอ่างทอง
การสำรวจช่วยเหลือป้องกันกำจัดศัตรูพืช
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
โครงการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้แบบมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วน
รองเลขาธิการคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
โครงการส่งเสริมให้ผู้ ประกอบในกลุ่มนิคม อุตสาหกรรมพื้นที่มาบ ตาพุด เพิ่มอัตราการ นำน้ำกลับมาใช้ใหม่ ปี
ศูนย์อนามัยที่ 2 สระบุรี
จะเริ่มอย่างไร ? จุดเริ่มต้นของการปฏิรูประบบสุขภาพระดับอำเภอ อยู่ที่การกำหนดค่ากลางของความสำเร็จของโครงการสุขภาพระดับเขต เพื่อส่งมอบให้จังหวัดนำเข้าสู่กระบวนการ(1)
แนวทางการดำเนินงาน อนามัยสิ่งแวดล้อมในปี 2558
การบริหารราชการแผ่นดิน
พรทิพย์ ศิริภานุมาศ กองแผนงาน กรมควบคุมโรค
แผนพัฒนาสามปี (พ.ศ.2550 – 2552) องค์การบริหารส่วนตำบลทางเกวียน
นโยบายกรมสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2554
สรุป การสัมมนา “การจัดทำแผนปฏิบัติงานประจำปี 2555”
การจัดการด้านสุขภาพของ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น สู่เมืองไทยแข็งแรง รัฐบาลได้ประกาศให้ “ เมืองไทยแข็งแรง ” โดยกำหนด เป้าหมายให้คนไทยแข็งแรงถ้วน หน้า ในปี
การตรวจราชการแบบบูรณาการ ร่วมกับสำนักนายกรัฐมนตรี
4. ด้านการสื่อสาร 5. ด้านการพัฒนานโยบายสาธารณะ
Roadmap : การขับเคลื่อนระดับพื้นที่ เป็นอย่างไร ??
ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการจัดระบบบริหารจัดการขยะมูลฝอยของประเทศ พ.ศ ประกาศราชกิจจานุเบกษา วันที่ 25 กันยายน 2557.
ระดับกระทรวง / กลุ่มภารกิจ / กรม
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การประชุมชี้แจงรายละเอียด โครงการสนับสนุนและเสริมสร้างสมรรถนะให้กับ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในการบริหารจัดการขยะมูลฝอยและ ของเสียอันตรายจากชุมชน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2555 นางสาวจงจิตร์ นีรนาทเมธีกุล ผู้อำนวยการสำนักงานสิ่งแวดล้อมภาคที่ 16 1 1 1

ความเป็นมา มลพิษจากขยะมูลฝอย เป็นหนึ่งในปัญหาสิ่งแวดล้อมที่ทวีความรุนแรงขึ้น ในปี พ.ศ. 2551 มีปริมาณขยะมูลฝอยที่เกิดขึ้น จำนวน 15.03 ล้านตัน ปี พ.ศ. 2552 จำนวน 15.11 ล้านตัน และปี พ.ศ. 2553 จำนวน 15.16 ล้านตัน ซึ่งในแต่ละปีหน่วยงานที่รับผิดชอบการจัดการขยะ มูลฝอย ต้องเสียค่าใช้จ่ายเป็นจำนวนมากในการจัดการขยะมูลฝอยที่เกิดขึ้น ดังนั้น กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม จึงได้กำหนดนโยบายการจัดการขยะมูลฝอย ให้มีความสอดคล้องกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ และนโยบายต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง โดยกำหนดให้มีการจัดการในรูปแบบของการใช้ทรัพยากรธรรมชาติให้เกิดประโยชน์สูงสุด (Resource conservation and recovery) โดยมุ่งเน้นให้มีระบบการบริหารจัดการขยะ มูลฝอยในชุมชนแบบครบวงจร ตั้งแต่จุดเริ่มต้นของการเกิดขยะมูลฝอย จนถึงการกำจัดขั้นสุดท้าย และให้ความสำคัญต่อการนำขยะมูลฝอยที่มีศักยภาพกลับมาใช้ประโยชน์ให้มากที่สุด รวมทั้งลดปริมาณขยะมูลฝอยที่จะต้องนำไปกำจัดให้เหลือน้อยที่สุด โดยระบบการบริหารจัดการที่กล่าวถึงข้างต้น จะมุ่งเน้นการมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วน ทั้งจากหน่วยงานภาครัฐที่เกี่ยวข้อง ในส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค และส่วนท้องถิ่น โครงการสนับสนุนและเสริมสร้างสมรรถนะให้กับ อปท. ในการบริหารจัดการขยะมูลฝอยและของเสียอันตรายจากชุมชน

ความเป็นมา กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม โดย กรมควบคุมมลพิษ ร่วมกับ สำนักงานสิ่งแวดล้อมภาค สำนักงานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมจังหวัด และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ดำเนินโครงการสนับสนุนและเสริมสร้างสมรรถนะให้กับขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในการบริหารจัดการขยะมูลฝอยและของเสียอันตรายจากชุมชน อย่างต่อเนื่องตั้งแต่ปี พ.ศ. 2551 จนถึงปัจจุบัน พ.ศ. 2555 รวมระยะเวลา 5 ปี วัตถุประสงค์ เพื่อเสริมสร้างสมรรถนะให้กับ อปท. ในการบริหารจัดการขยะมูลฝอย ของเสียอันตรายจากชุมชน และมูลฝอยติดเชื้อ ในแต่ละกลุ่มพื้นที่จังหวัดเป้าหมาย รวมทั้งเพื่อให้ อปท. มีการเตรียมความพร้อมในการประกาศให้สถานที่กำจัดขยะมูลฝอยเป็นแหล่งกำเนิดมลพิษที่จะต้องถูกควบคุม ตามมาตรา 68 และ 69 แห่งพระราชบัญญัติส่งเสริม และรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. 2535 โครงการสนับสนุนและเสริมสร้างสมรรถนะให้กับ อปท. ในการบริหารจัดการขยะมูลฝอยและของเสียอันตรายจากชุมชน

พื้นที่เป้าหมาย ปี พ.ศ. 2551 พื้นที่ อปท. เป้าหมาย จำนวน 23 แห่ง โดยเป็นเทศบาลนครทั้ง 23 แห่ง อปท. ที่ผ่านเกณฑ์การประเมินการบริหารจัดการขยะมูลฝอยที่กำหนด อย่างน้อย 4 จาก 6 สมรรถนะ จำนวน 19 แห่ง จาก 23 แห่ง (ร้อยละ 82.6) ปี พ.ศ. 2552 พื้นที่ อปท. เป้าหมาย จำนวน 59 แห่ง ประกอบด้วย เทศบาลนคร 21 แห่ง เทศบาลเมือง 38 แห่ง อปท. ที่ผ่านเกณฑ์การประเมินการบริหารจัดการขยะมูลฝอยที่กำหนด อย่างน้อย 4 จาก 6 สมรรถนะ จำนวน 54 แห่ง จาก 59 แห่ง (ร้อยละ 91.5) โครงการสนับสนุนและเสริมสร้างสมรรถนะให้กับ อปท. ในการบริหารจัดการขยะมูลฝอยและของเสียอันตรายจากชุมชน

พื้นที่เป้าหมาย ปี พ.ศ. 2553 พื้นที่ อปท. เป้าหมาย จำนวน 94 แห่ง ประกอบด้วย เทศบาลนคร 22 แห่ง เทศบาลเมือง 68 แห่ง เทศบาลตำบล 4 แห่ง อปท. ที่ผ่านเกณฑ์การประเมินการบริหารจัดการขยะมูลฝอยที่กำหนด อย่างน้อย 4 จาก 6 สมรรถนะ จำนวน 90 แห่ง จาก 94 แห่ง (ร้อยละ 95.7) ปี พ.ศ. 2554 พื้นที่ อปท. เป้าหมาย จำนวน 131 แห่ง ประกอบด้วย เทศบาลนคร 22 แห่ง เทศบาลเมือง 83 แห่ง เทศบาลตำบล 25 แห่ง เขตการปกครองพิเศษ 1 แห่ง อปท. ที่ผ่านเกณฑ์การประเมินการบริหารจัดการขยะมูลฝอยที่กำหนด อย่างน้อย 4 จาก 6 สมรรถนะ จำนวน 127 แห่ง จาก 131แห่ง (ร้อยละ 96.9) โครงการสนับสนุนและเสริมสร้างสมรรถนะให้กับ อปท. ในการบริหารจัดการขยะมูลฝอยและของเสียอันตรายจากชุมชน

จำนวน อปท. เป้าหมาย ที่ดำเนินโครงการฯ พ.ศ. 2551 - 2554 จำนวน อปท. เป้าหมาย ที่ดำเนินโครงการฯ พ.ศ. 2551 - 2554 โครงการสนับสนุนและเสริมสร้างสมรรถนะให้กับ อปท. ในการบริหารจัดการขยะมูลฝอยและของเสียอันตรายจากชุมชน

จำนวน อปท. เป้าหมายที่ดำเนินโครงการในพื้นที่ สสภ.16 สำนักงานสิ่งแวดล้อมภาคที่ 16 ได้เริ่มดำเนินโครงการฯ ดังนี้ - ปีงบประมาณ พ.ศ. 2551 จำนวน 3 แห่ง ได้แก่ เทศบาลนครสงขลา เทศบาลนครหาดใหญ่ และเทศบาลนครยะลา - ปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 จำนวน 7 แห่ง เพิ่มพื้นที่ใหม่ 4 แห่ง คือ เทศบาลเมืองพัทลุง เทศบาลเมืองคอหงส์ และเทศบาลเมืองปัตตานี - ปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 จำนวน 7 แห่ง ไม่มีการเพิ่มพื้นที่ - ปีงบประมาณ พ.ศ. 2554 จำนวน 9 แห่ง เพิ่มพื้นที่ใหม่ 2 แห่ง คือ เทศบาลเมืองสะเดาและเทศบาลเมืองนราธิวาส โครงการสนับสนุนและเสริมสร้างสมรรถนะให้กับ อปท. ในการบริหารจัดการขยะมูลฝอยและของเสียอันตรายจากชุมชน

จบการนำเสนอ THANK YOU