งานและพลังงาน อ.วัชรานนท์ จุฑาจันทร์ Watcharanon_j@hotmail.com.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การชน (Collision) ในการชนกันของวัตถุ วัตถุแต่ละชิ้น จะเกิดการแลกเปลี่ยนความเร็ว และทิศทางในการเคลื่อนที่ โดยอาศัยกฎการอนุรักษ์โมเมนตัม.
Advertisements

การเคลื่อนที่.
ชุดที่ 1 ไป เมนูรอง.
2.1 การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง
บทที่ 3 การสมดุลของอนุภาค.
สมดุลกล (Equilibrium) ตัวอย่าง
การเคลื่อนที่แบบซิมเปิลฮาร์มอนิกส์ (Simple Harmonic Motion)
(Impulse and Impulsive force)
ลองคิดดู 1 มวล m1 และมวล m2 วิ่งเข้าชนกันแล้วสะท้อนกลับทางเดิม ความเร่งหลังชนของมวล m1 และ m2 เท่ากับ 5 m/s2 และ 2 m/s2 ตามลำดับ ถ้า m1 มีมวล 4 kg มวล.
คณิตศาสตร์เพิ่มเติ่ม ค เรื่อง วงกลม โดย ครูนาตยา บุญเรือง
การวิเคราะห์ความเร็ว
นางสาวสุวรรณี อินทรีเนตร เลขที่ 26
กฎการเคลื่อนที่ข้อ 3 ของนิวตัน กฎการเคลื่อนที่ข้อ 2 ของนิวตัน
ทบทวน 1กลศาสตร์ Newton 1.1 Introduction “ระยะทาง” และ “เวลา”
Section 3.2 Simple Harmonic Oscillator
การบ้าน ข้อ 1 จงพิสูจน์ว่า
การศึกษาเกี่ยวกับแรง ซึ่งเป็นสาเหตุการเคลื่อนที่ของวัตถุ
ขั้นตอนทำโจทย์พลศาสตร์
ระบบอนุภาค การศึกษาอนุภาคตั้งแต่ 2 อนุภาคขึ้นไป.
การเคลื่อนที่ของวัตถุเกร็ง
ตัวอย่าง วัตถุก้อนหนึ่ง เคลื่อนที่แนวตรงจาก A ไป B และ C ตามลำดับ ดังรูป 4 m A B 3 m 1 อัตราเร็วเฉลี่ยช่วง A ไป B เป็นเท่าใด.
โมเมนตัมเชิงมุม เมื่ออนุภาคเคลื่อนที่ โดยมีจุดตรึงเป็นจุดอ้างอิง จะมีโมเมนตัมเชิงมุม โดยโมเมนตัมเชิงมุมหาได้ตามสมการ ต่อไปนี้ มีทิศเดียวกับ มีทิศเดียวกับ.
โมเมนตัมและการชน.
Rigid Body ตอน 2.
การแกว่ง ตอนที่ 2.
แรงตามกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน มี 3 ประเภท คือ 1
พันธะเคมี Chemical bonding.
เซอร์ ไอแซค นิวตัน Isaac Newton
โพรเจกไทล์ การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์         คือการเคลื่อนที่ในแนวโค้งพาราโบลา ซึ่งเกิดจากวัตถุได้รับความเร็วใน 2 แนวพร้อมกัน คือ ความเร็วในแนวราบและความเร็วในแนวดิ่ง.
การวิเคราะห์ข้อสอบ o-net
การประยุกต์ใช้ปริพันธ์ Applications of Integration
จำนวนชั่วโมงในการบรรยาย 1 ชั่วโมง
ว ความหนืด (Viscosity)
การเคลื่อนที่แบบโปรเจกไทล์ (Projectile motion)
ตัวอย่างปัญหาการเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์
งานและพลังงาน (Work and Energy).
หน่วยที่ 8 อนุพันธ์ย่อย (partial derivative).
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ เรื่องงาน
ระบบอนุภาค.
PresentBySamurai กลยุทธการบริหารความรูของ Microsoft.
Introduction to Statics
Equilibrium of a Particle
พลังงานภายในระบบ.
(Internal energy of system)
ชุดวิชา : การประเมินแรงม้าเครื่องจักร
สมบัติของคลื่น การสะท้อน
การคำนวณค่าไฟฟ้า.
ผลของแรงที่ทำให้วัตถุเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ
คลื่นหรรษา ตอนที่ 1 คลื่นหรรษา ตอนที่ 1 โดย อ.ดิลก อุทะนุต.
แม่เหล็กไฟฟ้า Electro Magnet
อาจารย์นัณฑ์ศิตา ชูรัตน์
การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไตล์ (Projectile Motion) จัดทำโดย ครูศุภกิจ
โดย อ.วัชรานนท์ จุฑาจันทร์
โดย อ.วัชรานนท์ จุฑาจันทร์
การเคลื่อนที่เป็นวงกลม
โดย อ.วัชรานนท์ จุฑาจันทร์
การเคลื่อนที่แบบคาบ อ.วัชรานนท์ จุฑาจันทร์
โดย อ.วัชรานนท์ จุฑาจันทร์
ความรู้พื้นฐานทางวิศวกรรมไฟฟ้า(252282) กฎของโอห์ม การคำนวณและการวัด
คลื่น คลื่น(Wave) คลื่น คือ การถ่ายทอดพลังงานออกจากแหล่งกำหนดด้วยการ
การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
สมบัติที่สำคัญของคลื่น
พลังงาน (Energy) เมื่อ E คือพลังงานที่เกิดขึ้น        m คือมวลสารที่หายไป  และc คือความเร็วแสงc = 3 x 10 8 m/s.
การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์
ครูยุพวรรณ ตรีรัตน์วิชชา
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 น แรง.
หน่วยที่ 7 การกวัดแกว่ง
ชนิดของคลื่น ฟังก์ชันคลื่น ความเร็วของคลื่น กำลัง, ความเข้มของคลื่น
หน้า 1/8. หน้า 2/8 พลังงาน หมายถึง ความสามารถ ในการทำงาน ชึ่งถ้าหากพลังงานมาก ก็จะมี กำลังมาก การคิดถึงเรื่องเหล่านี้ เราจะเห็น ความสัมพันธ์ ที่เรียกว่า.
พาราโบลา (Parabola).
ใบสำเนางานนำเสนอ:

งานและพลังงาน อ.วัชรานนท์ จุฑาจันทร์ Watcharanon_j@hotmail.com

งาน (Work) งาน คือผลของแรงที่กระทําบนวัตถุ และทําใหวัตถุเคลื่อนที่ไปตามแนวแรง W = F.S ถามีแรงคงที่ F กระทําตอวัตถุ ทํามุม θ กับแกน x ซึ่งเปนแนวการเคลื่อนที่ของวัตถุ ดังรูป - แรงอยูในทิศเดียวกับการเคลื่อนที่ งานเปนบวก - แรงอยูในทิศสวนกับการเคลื่อนที่ งานเปนลบ - แรงกับการเคลื่อนที่ทํามุมฉากกัน งานเปนศูนย์

งานเนื่องจากแรงแปรคาได้ วัตถุมวล m ที่ติดอยูกับปลายสปริงซึ่งมีคาคงตัว สปริงวางอยูบนพื้นลื่น มีปลายหนึ่งตรึงอยูกับผนัง ถาใชแรง Fa ดึงวัตถุทําใหสปริงยืดออกไดการกระจัด x จะเกิดแรงคืนตัวของสปริงเทากับ -Fa ความสัมพันธ ระหวางแรงจากสปริงและระยะยืดหรือระยะหดของสปริงเปนไปตามกฎของฮุก (Hooke’s law) F = - kx โดยที่คา k เรียกวาคาคงตัวของสปริง งานซึ่งเกิดจากสปริงมีคา ∆W = F∆x = - kx∆x

งานที่ถูกทําดวยแรงไมคงที่ ดังนั้นงานทั้งหมด ดังนั้นสมการหางานเมื่อแรงไมคงที่ จากกฎของฮุค F = kx เมื่อ k คือคานิจของสปริง

พลังงาน พลังงานเปนสมบัติอยางหนึ่งของระบบที่บงถึงขีดความสามารถในการทํางาน พลังงานของระบบหนึ่งระบบใดจะมีคาคงที่ เรียกวา กฎการคงตัวของพลังงาน ตัวอยางเชน มวล 2 กอนชนกัน ถาเปนการชนแบบยืดหยุน พลังงานสุดทายหลังชนจะเทากับพลังงานกอนชน คือพลังงานไมสูญหายไปไหนยังคงเทาเดิม แต่ถ้ามวลทั้งสองกอนเปลี่ยนรูปรางไป เชน ปาหมากฝรั่งไปติดกําแพง ยิงลูกปนฝงเข้าไปในเปา ฯลฯ พลังงานสูญเสียไปทางอื่นที่ไมใชการเคลื่อนที่ การชนในลักษณะนี้เรียกวา การชนแบบไมยืดหยุน กฎการคงตัวของพลังงานใชไมไดกับกรณีนี้

งานและพลังงานจลน งาน = การเปลี่ยนแปลงพลังงานจลน์ เป็นพลังงานที่เกิดขึ้นในขณะที่วัตถุกำลังเคลื่อนที่

พลังงานศักยโนมถวง เปนพลังงานของวัตถุที่ขึ้นกับระดับความสูง หรือตําแหนงของวัตถุ เกิดเนื่องจากการเปลี่ยนระดับของวัตถุจากระดับหนึ่งไปสูอีกระดับหนึ่ง W g คืองานที่ใชในการเคลื่อนที่จากจุดเริ่มตนถึงจุดสิ้นสุด mgy มีชื่อเรียกวา พลังงานศักยโนมถวง แทนดวย Ep

กําหนดใหพลังงานรวม E = EK + Ep ในกรณีที่ไมมีแรงภายนอกมากระทํากับวัตถุ P = 0 , WC = 0 เรียกวา กฎการคงตัวของพลังงาน

กําลัง (Power) กําลัง คือ อัตราการทํางาน หรืองานที่ทําไดในหนึ่งหนวยเวลา หนวยของกําลัง คือ จูลตอวินาที (J/s) เรียกเป็นหนวยใหมวา วัตต (W) หนวยของงาน อาจบอกเปน กิโลวัตต-ชั่วโมง หนวยของกําลัง อีกหนวยหนึ่ง คือ กําลังมา คาของหนึ่งกําลังมาเทากับ 764 วัตต์ ตามสมการ คาของงาน ∆ W = F. ∆ r สามารถเขียนคาของกําลังตาม สมการได

สรุปงานและพลังงาน งาน (Work) เปนปริมาณสเกลาร มีหนวยเปน นิวตันเมตร(Nm) หรือ จูล (J) งานของแรง F หาไดจาก W = F.S พลังงานกล : จัดแบงเปนพลังงานจลน (Ek) และพลังงานศักย (Ep) คาพลังงานจลนหาไดจาก Ek = m v2 คาพลังงานศักยโนมถวงหาไดจาก Ep = mgh คาพลังงานศักยยืดหยุนหาไดจาก Ep = kx2

หลักการอนุรักษพลังงานกล : ( Ek + Ep )i = ( Ek + Ep )f เมื่อไมมีการเปลี่ยนรูปพลังงานกลเปนพลังงานอื่น ( Ek + Ep )i = ( Ek + Ep )f + Wf เมื่อมีการเปลี่ยนรูปพลังงานกลเปนรูปอื่น กําลัง (Power , P) มีหนวยเปน N.m หรือ วัตต(W) กําลังเฉลี่ย = งาน / เวลา หรือ = กําลังเนื่องจากแรง F กระทําตอวัตถุ ณ ขณะที่วัตถุมีความเร็ว หาค่ากําลัง โดยแรง F ไดจาก คา