พฤติกรรมผู้บริโภค ศิวาพร ทรงวิวัฒน์.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ทฤษฎีการผลิต และต้นทุนการผลิต
Advertisements

เอกสารประกอบการสอนเสริม เศรษฐศาสตร์วิเคราะห์
3.4 ประโยชน์จากการค้าภายใต้ข้อสมมติต้นทุนเพิ่มขึ้น
ตัวแบบอรรถประโยชน์ (utility theory)
เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงในรายได้ของผู้บริโภค
ตัวแบบเส้นความพอใจเท่ากัน(indifference curve)
การเลือกคุณภาพสินค้า
เกมธุรกิจแห่งชาติ ตัวชี้วัด น้ำหนัก 1 ยอดขาย 10% 2 กำไร 40% 3 ROE 15%
ข้อตกลงในการเรียน พื้นฐานที่จำเป็นสำหรับนำไปใช้ในเรื่อง
จงหาค่า A-G MU TU 1 12 A 2 9 B 3 C 26 4 D 5 E F 7 -6 G
เงิน.
กลไกราคา การเกิดกลไกราคา คือ ตัวกำหนดราคาสินค้าว่าจะถูกหรือแพง
ทฤษฏีพฤติกรรมผู้บริโภค
ส่วนเกินของผู้บริโภค (consumer surplus)
การประยุกต์ 1. Utility function
ตลาดปัจจัยการผลิต (Markets for Factor Inputs)
ตัวอย่าง: ดุลยภาพในการแลกเปลี่ยนและการผลิต
บทที่ 9 ปัญหาการขนส่ง Transportation Problem
อุปสงค์และอุปทาน Demand and Supply.
หมดแล้วหมด เลย ไม่ได้คืนสักบาท ได้เงินคืน เดือนแรก 100 บาท และ เพิ่มขึ้นทุกเดือน ๆ ละ 100 บาท ถ้าโทรฯเดือนละ 500 บาท หมดเงิน 100 x 500 = 50,000 บาท ถ้าโทรฯเดือนละ.
ข้อสอบ O-Net การเคลื่อนที่แนวตรง.
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทาน.
บทที่ 6 อุปสงค์ (Demand)
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทาน.
หน่วยที่ 3 การกำหนดขึ้นเป็นราคาดุลยภาพ
หน่วยที่ 3 การกำหนดขึ้นเป็นราคาดุลยภาพ
คณิตศาสตร์และสถิติธุรกิจ
บทที่ 5 ทฤษฎีการผลิต การศึกษาด้านอุปทาน ทฤษฏีการผลิต (บทที่ 5)
บทที่ 2 ความรู้เกี่ยวกับอุปสงค์และอุปทาน
Topic 10 ระดับรายได้ประชาชาติดุลยภาพ และการเปลี่ยนแปลง
บทที่ 4 ทฤษฎีพฤติกรรมผู้บริโภค (Theory of Consumer Behavior)
ดุลยภาพของตลาด (Market Equilibrium)
เอกสารประกอบคำบรรยาย วิชา เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น Introduction to Economics Lecturer : Orasa Tuntiyawongsa Faculty of Applied Arts. KMITNB
บทที่ 9 การกำหนดราคาและผลผลิตในตลาดแข่งขันไม่สมบูรณ์ (Price and Output Determination Under Imperfect Competition) ตลาดผูกขาดที่แท้จริง ลักษณะของตลาดผูกขาดแท้จริง.
ทฤษฏีพฤติกรรมผู้บริโภค
บทที่ 7 รายรับ รายรับจากการผลิต ลักษณะของเส้นรายรับต่างๆ
บทที่ 3 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์และอุปทาน
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทาน และการกำหนดราคาสินค้า
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์และอุปทาน Elasticity of Demand and Supply
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์และอุปทาน Elasticity of Demand and Supply
พฤติกรรมผู้บริโภค.
อุปสงค์และอุปทาน Demand and Supply.
บทที่ 4 การโปรแกรมเชิงเส้น (Linear Programming)
พฤติกรรมผู้บริโภค.
การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์และอัลกอริธึม
การวัดและประเมินพัฒนาการของผู้เรียน
โปรแกรมประเมินค่าเสียหายทางสิ่งแวดล้อมบางประการหลังการทำลายป่าไม้
ส่วนวิจัยต้นน้ำ สำนักอนุรักษ์และจัดการต้นน้ำ
แผนปฏิบัติการ ประจำปี 2547
การสร้างงานกราฟิก ในภาษา php
หน่วยที่ 3 การวิเคราะห์การผลิต.
ความยืดหยุ่นอุปสงค์ และอุปทาน อ. ศิวาพร ทรงวิวัฒน์
Operators ตัวดำเนินการ
เด็กหญิง สุนิสา จิตรมั่น โรงเรียนวัดแหลมมะเกลือ
โครงสร้างของตลาดและการกำหนดราคา
สมัครสมาชิก 100 บาท / ปี - คู่มือ ดำเนินธุรกิจ - ซื้อสินค้าในราคา สมาชิก - เป็นมรดกตกทอด ทางรายได้ - ท่องเที่ยวในประเทศ และต่างประเทศ.
Demand in Health Sector
แบบฝึกหัด จงหาคำตอบที่ดีที่สุด หรือหาค่ากำไรสูงสุด จาก
เรื่อง เงิน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3
วิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง การประมาณค่า ครูสุชาฎา รถทอง โรงเรียนปทุมวิไล
การรวมธุรกิจ.
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
บทที่ 2 กำหนดการเชิงเส้น : การแก้ปัญหาด้วยวิธีกราฟ (ต่อ)
ทฤษฎีพฤติกรรมผู้บริโภค
ทรงกลม.
คณิตศาสตร์ (ค33101) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 หน่วยการเรียนรู้ที่ 7
ตลาดกึ่งแข่งขันกึ่งผูกขาด
สอนโดย ครูประทุมพร ศรีวัฒนกูล
เงินเฟ้อ และการว่างงาน
ตลาดผูกขาด ( MONOPOLY )
ใบสำเนางานนำเสนอ:

พฤติกรรมผู้บริโภค ศิวาพร ทรงวิวัฒน์

Constrained Utility Maxzimazation Cardinal Approch 1. วัดออกมาเป็นตัวเลข โดยมีหน่วยเป็น Utils 2. เมื่อบริโภคมากขึ้น ความพอใจรวมจะลดลง Ordinal Approch 1. Completeness 2. Transitivity 3. Continulity CUM Model : Constrained Utility Maxzimazation “ผู้บริโภค จะแสวงหาความพึงพอใจสูงสุดในการเลือกซื้อสินค้า และบริการ จากรายได้ที่มีอยู่อย่างจำกัด”

Cardinal Approach Marginal Utility : MU Total Utility : TU ระดับความพึงพอใจที่ได้รับจากการบริโภคสินค้า X ที่เปลี่ยนแปลงไปจากการบริโภคสินค้า Y ซึ่งเป็นไปตาม Law of Diminishing Marginal Utility Total Utility : TU ระดับของความพึงพอใจทั้งหมดที่ผู้บริโภคได้รับจากการบริโภคสินค้า และบริการมาตอบสนองความจำเป็น และความต้องการต่าง ๆ ซึ่งมีความสัมพันธ์กับปริมาณสินค้าที่บริโภค Cardinal Approach กฏการลดน้อยถอยลงของอรรถประโยชน์หน่วยสุดท้าย (Law of Diminishing Marginal Utility) ตัวแปรต้น : Utility ตัวแปรตาม : สินค้าและบริการ Utility = (สินค้า และบริการ)

Q 1 2 3 4 5 6 7 TU 9 12 14 15 MU -2 2 4 6 8 10 12 14 16 1 3 5 7 9 TU 5 4 3 2 1 -1 MU

ภาวะดุลยภาพ ตามกฏ CUM Model MU1 P1 MU2 P2 = ……… MUn Pn สมมุติให้ราคาน้ำเปล่า และน้ำอัดลมราคาขวดละ 10 บาท โดยทั้งนี้มีเงินจำนวนทั้งสิ้น 30 บาท

จำนวน MU น้ำเปล่า MU น้ำอัดลม 1 120 140 2 100 3 60 110 4 30 5 20 40 6 MU/P 12 10 6 3 2 MU/P 14 12 11 6 4 MU/P 12.73 10.91 10 5.45 3.64 สมมุติให้ราคาน้ำเปล่า ราคาขวดละ 10 บาท และราคาน้ำอัดลมราคาขวดละ 11 บาท โดยทั้งนี้มีเงินจำนวนทั้งสิ้น 30 บาท

Ordinal Approach 1. เป็นเส้นที่ลาดจากซ้ายไปขวา 2. มีลักษณะโค้งเข้าหาจุดกำเนิด 3. เส้นที่อยู่สูงกว่าให้ความพึงพอใจที่มากกว่าเส้นที่อยู่ต่ำกว่า 4. จุดทุกจุดที่อยู่บนเส้นความพอใจเท่ากัน จะให้ค่าที่เท่ากัน 5. เส้นความพึงพอใจเท่ากันไม่สามารถตัดกันได้ Ordinal Approach Indifference Curve : IC เส้นที่แสดงถึงความเต็มใจที่จะจ่ายเงินเพื่อซื้อสินค้าและบริการต่าง ๆ โดยต้องได้รับความพึงพอใจเท่าเดิม

IC2 = 120 Utils IC2 = 120 Utils IC1 = 100 Utils

เส้นงบประมาณ (Budget Line : BL) Slope ของเส้นงบประมาณ Slope = BL/Px = Px BL/Py Py เป็นเส้นที่แสดงถึงทางเลือกต่าง ๆ จากส่วนประกอบของสินค้า 2 ชนิด ที่ผู้บริโภคสามารถซื้อหาได้ภายใต้รายได้ที่มีอยู่ BL = PxX + PyY

Y X สมมุติว่ามีเงิน 50 บาท ราคาสินค้า Y ชิ้นละ 10 บาท ราคาสินค้า X ชิ้นละ 20 บาท สมมุติว่ามีเงิน 100 บาท ราคาสินค้า Y ชิ้นละ 10 บาท ราคาสินค้า X ชิ้นละ 20 บาท สมมุติว่ามีเงิน 200 บาท ราคาสินค้า Y ชิ้นละ 10 บาท ราคาสินค้า X ชิ้นละ 20 บาท 20 10 การเปลี่ยนแปลงทางด้านรายได้ Income Changes 10 5 5 2.5

Y X สมมุติว่ามีเงิน 200 บาท ราคาสินค้า Y ชิ้นละ 8 บาท และราคาสินค้า X ชิ้นละ 10 บาท สมมุติว่ามีเงิน 200 บาท ราคาสินค้า Y ชิ้นละ 20 บาท และราคาสินค้า X ชิ้นละ 10 บาท สมมุติว่ามีเงิน 200 บาท ราคาสินค้า Y ชิ้นละ 10 บาท และราคาสินค้า X ชิ้นละ 10 บาท การเปลี่ยนแปลงทางด้านราคาสินค้า Price Changes 20 25 20 20 10

ภาวะดุลยภาพ ตามกฏ CUM Model Y X IC2 = 120 Utils IC3 = 100 Utils IC1 = 80 Utils

ผลรวม = X1 – X2 = X1-X3 + X3-X2 ผลทางการทดแทน Substitution Effect X1 – X3 ผลทางด้านรายได้ Income Effect X3 – X2 Y X ผลรวม = ผลทางการทดแทน + ผลทางด้านรายได้ X1 – X2 = X1-X3 + X3-X2 IC2 IC1 Y2 X2 Y1 X1 Y3 X3