การแจกแจงปกติ NORMAL DISTRIBUTION

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การใช้โปรแกรม SPSS ในการตรวจสอบการแจกแจงของข้อมูล
Advertisements

คณิตศาสตร์ประยุกต์ 2 ค่ามัธยฐาน จัดทำโดย อ.เทวี บัวแย้ม.
การสุ่มงาน(Work Sampling)
การทดสอบสมมติฐานเกี่ยวกับ ค่าเฉลี่ยประชากร 1 กลุ่ม
ประชากร (Population) จำนวน N สุ่ม (Random) กลุ่มตัวอย่าง (Sample)
ความน่าจะเป็น Probability.
ไม่อิงพารามิเตอร์เบื้องต้น
안녕하세요. ( อัน-นยอง-ฮา-เซ-โย )
สถิติ และ การวิเคราะห์ข้อมูล
การวัดแนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง
บทที่ 12 การวิเคราะห์การถดถอย
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
Sampling Distribution
สถิติที่ใช้ในการวิจัย
Chapter 4: Special Probability Distributions and Densities
การวิเคราะห์ข้อมูลโดยสถิติเชิงพรรณนา (Descriptive Statistics)
เทคนิคการประเมินผลการเรียนการสอน (การให้ระดับคะแนน:เกรด)
Probability & Statistics
การประยุกต์สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
บทที่ 6 การเขียนภาพสามมิติ ภาพอ็อบลีก
เอกสารประกอบคำสอน อาจารย์ศุกรี อยู่สุข
การประยุกต์ใช้ปริพันธ์ Applications of Integration
บทที่ 6 การวิเคราะห์สหสัมพันธ์
การประมาณค่าทางสถิติ
คณิตศาสตร์และสถิติธุรกิจ
แนวคิด พื้นฐาน ทางสถิติ The Basic Idea of Statistics.
Graphical Methods for Describing Data
เทคนิคทางคณิตศาสตร์ในการวิเคราะห์เชิงปริมาณ
คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โรงเรียนอัสสัมชัญอุบลราชธานี
การวิเคราะห์สหสัมพันธ์และการถดถอย
การแจกแจงความน่าจะเป็นของตัวแปรสุ่ม
การคำนวณค่าสถิติเบื้องต้น … สถิติเชิงพรรณนา
บทที่ 4 การโปรแกรมเชิงเส้น (Linear Programming)
ตัวอย่างงานวิจัย องค์ประกอบที่มีความสัมพันธ์กับการใช้ห้องสมุดของนักเรียนมัธยมศึกษา ตารางที่ 4-7 ตารางที่
Menu Analyze > Correlate
สถิติเชิงสรุปอ้างอิง(Inferential or Inductive Statistics)
การตัดสินใจเบื้องต้น : สถิติเบื้องต้น (Introduction to statistics)
นายเพียร แก้วสวัสดิ์ 2549 เสนอ ดร.อุดม คำหอม
สถิติในการวัดและประเมินผล
ค่านิยมของสำนักงานปลัดกระทรวงพาณิชย์
การแจกแจงปกติ ครูสหรัฐ สีมานนท์.
ครูสหรัฐ สีมานนท์. หัวข้อ การศึกษา 2. การประยุกต์พื้นที่ ภายใต้โค้งปกติ 1. พื้นที่ภายใต้โค้ง ปกติ
การวัดการกระจาย (Measures of Dispersion)
การแจกแจงปกติ.
การสุ่มตัวอย่างและการแจกแจงกลุ่มตัวอย่าง
Computer Programming for Engineers
บทที่ 9 สถิติที่ใช้ในการประเมินผล
สถิติธุรกิจ BUSINESS STATISTICS.
เทคนิคในการวัดความเสี่ยง
คะแนนและความหมายของคะแนน
โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ ระดับอุดมศึกษา เรื่อง วิธีการกำหนดระดับความสามารถของผู้เรียน วิทยากร : รองศาสตราจารย์ ดร. สุพัฒน์ สุกมลสันต์ เวลา น .
สรุปสถิติ ค่ากลาง ค่าเฉลี่ยเลขคณิต เรียงข้อมูล ตำแหน่งกลาง มัธยฐาน
คณิตศาสตร์ (ค33101) หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 เรื่อง สถิติ
Week 11 Basic Programs 2.
การทดสอบค่าเฉลี่ยประชากร
บทที่ 4 การวัดการกระจาย
Chi-Square Test การทดสอบไคสแควร์ 12.
เรื่อง จัดทำโดย กราฟ นายเทวา หาระโคตร ปวช.2 กลุ่ม.2 คอมพิวเตอร์ธุรกิจ
ขอนำเสนอ แผนภูมิกราฟ.
คะแนนมาตรฐาน และ โค้งปกติ
ความชันและสมการเส้นตรง
บทที่ 7 การทดสอบค่าเฉลี่ยของ ประชากร. การทดสอบค่าเฉลี่ย 1 ประชากร ไม่ทราบค่าความแปรปรวนของประชากร ( ) สถิติที่ใช้ในการทดสอบ คือ t = d.f = n-1.
สถิติเพื่อการวิจัย 1. สถิติเชิงบรรยาย 2. สถิติเชิงอ้างอิง.
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
คณิตศาสตร์ (ค33101) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 หน่วยการเรียนรู้ที่ 7
Basic Statistics พีระพงษ์ แพงไพรี.
QUIZ ก่อนเรียน เขียน ชื่อ-นามสกุล, รหัสนักศึกษา และ section
คณิตศาสตร์ (ค33101) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 สอนโดย ครูปพิชญา คนยืน.
ผลงานวิจัยเรื่อง “การพัฒนาแบบฝึกทักษะแก้ปัญหาทางสถิติเรื่องตารางแจกแจงความถี่ สำหรับนักศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง สาขาบัญชี วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ”
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การแจกแจงปกติ NORMAL DISTRIBUTION ครูนุชลี สุนันทวนิช

การแจกแจงปกติ การแจกแจงปกติ เป็นการแจกแจงความน่าจะเป็นที่ สำคัญที่สุด ในการวิเคราะห์ทางสถิติ ทั้งนี้เพราะเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นส่วนใหญ่มักจะมีลักษณะใกล้เคียงรูปแบบการแจกแจงนี้ การแจกแจงความน่าจะเป็นแบบปกติของตัวแปรสุ่ม X ใดๆ สามารถเขียนได้ด้วย

ลักษณะของการแจกแจงแบบปกติ การแจกแจงทวินาม และการแจกแจงปัวซองที่ผ่านมา เป็นการแจกแจงความน่าจะเป็นของตัวแปรสุ่มชนิดไม่ต่อเนื่อง แต่การแจกแจงปกติ (Normal Distribution) ที่จะกล่าวถึงในบทนี้เป็นการแจกแจงความน่าจะเป็นของตัวแปรสุ่มชนิดต่อเนื่อง ซึ่งเส้นโค้งความถี่ของข้อมูลที่มีการแจกแจงปกติจะมีลักษณะสมมาตร ดังรูป

เส้นโค้งความถี่ของข้อมูลที่มีการแจกแจงปกติจะมีลักษณะสมมาตร

โค้งปกติเป็นโค้งรูประฆังคว่ำ ที่มีลักษณะสมมาตร คุณสมบัติของโค้งปกติ โค้งปกติเป็นโค้งรูประฆังคว่ำ ที่มีลักษณะสมมาตร ค่าเฉลี่ย มัธยฐาน และฐานนิยมมีค่าเท่ากัน ปลายทั้งสองข้างของโค้งปกติจะค่อย ๆ ลาดลงสู่แกนนอนและจะไปจรดแกนนอนที่ระยะอนันต์

ลักษณะโค้งปกติมีลักษณะเป็นรูประฆังคว่ำ ส่วนปลายทั้งสองข้างจะลาดลงและสมมาตร โดยลักษณะของโค้งปกติจะแตกต่างกันขึ้นอยู่กับค่าพารามิเตอร์ และ ดังรูป ลักษณะของโค้งปกติ ที่

ผลรวมพื้นที่ใต้โค้งการแจกแจงความน่าจะเป็นทั่วไปเท่ากับ 1 หรือ 100% โดยพื้นที่ใต้โค้งปกติ ณ ช่วงต่าง ๆ บนแกนนอนจะมีค่าโดยประมาณ ดังรูป

เมื่อ X คือ ตัวแปรสุ่มชนิดต่อเนื่องที่มีการแจกแจงแบบปกติ คือ 3.14159... คือ 2.71828... คือ ค่าเฉลี่ยประชากรที่มีการแจกแจงปกติ คือ ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานของประชากรมีการแจกแจงปกติ

โชคดีที่มีนักคณิตศาสตร์ สร้างตารางการคำนวณค่าความน่าจะเป็น ว้า ! คิดยากจัง โชคดีที่มีนักคณิตศาสตร์ สร้างตารางการคำนวณค่าความน่าจะเป็น ไว้ให้เราใช้ แต่ตารางดังกล่าว จะสามารถหาค่าได้เมื่อ

ก็ต้องคำนวณพื้นที่ภายใต้โค้งระหว่าง X = 5 และ X = 45 การคำนวณความน่าจะเป็นโดยใช้การแจกแจงแบบปกติ ถ้าต้องการคำนวณความน่าจะเป็นที่ X จะอยู่ระหว่าง 5 กับ 45 เมื่อ X มีการแจกแจงแบบปกติที่มี = 10 และ = 2 ก็ต้องคำนวณพื้นที่ภายใต้โค้งระหว่าง X = 5 และ X = 45 เนื่องจาก X เป็นตัวแปรชนิดต่อเนื่อง การคำนวณหาพื้นที่ภายใต้เส้นโค้งจึงต้องอาศัยสูตร คือ ได้คำตอบเท่าไรคะ

การแจกแจงแบบปกติมาตรฐาน วิธีการเปลี่ยนเส้นโค้งปกติทั่วไป ให้เป็นเส้นโค้งปกติแบบมาตรฐาน จะ อาศัยสูตรของคะแนนมาตรฐาน ความหมายของคะแนนมาตรฐาน คะแนนมาตรฐาน คือ ค่าที่ใช้วัดว่าตัวเลขแต่ละตัวมีค่าแตกต่างจากค่าเฉลี่ยของตัวเลขทั้งกลุ่มมากน้อยเพียงใด เมื่อกำหนดว่าค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับหนึ่ง

สูตรที่ใช้คำนวณคะแนนมาตรฐาน คือ เมื่อ Z คือ คะแนนมาตรฐานของ X X คือ ค่าที่ต้องการเปลี่ยนให้เป็นคะแนนมาตรฐาน คือ ค่าเฉลี่ยของค่าทั้งหมด คือ ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานของค่าทั้งหมด

เพราะฉะนั้น … ค่า Z จะมีการแจกแจงแบบปกติมาตรฐาน ผลที่ได้ ค่า Z จะเป็นตัวแปรที่มีการแจกแจงปกติ...ที่มี… ค่าเฉลี่ย เท่ากับ 0 ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน เท่ากับ 1 เพราะฉะนั้น … ค่า Z จะมีการแจกแจงแบบปกติมาตรฐาน

ตารางค่า Z Area between 0 and z

ตารางค่า z (ต่อ)

ตารางค่า z (ต่อ)

สวัสดีค่ะ