การวิเคราะห์วงจรในโดเมน s Circuit Analysis in The s-Domain

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ไฟฟ้ากระแสสลับ Alternating Current
Advertisements

วงจรลบแรงดัน (1).
4.6 RTL (Resistor-Transistor Logic) Inverter
DSP 4 The z-transform การแปลงแซด
วงจรออปแอมป์ไม่เชิงเส้นและวงจรกำเนิดสัญญาณ
โดย ดร.วรินทร์ สุวรรณวิสูตร อาจารย์ผู้ประสานงานวิชาโครงการ
โปรแกรมออกแบบวงจรกรองความถี่ต่ำผ่านโดยใช้ค่าความต้านทานและตัวเก็บประจุมาตรฐาน โดย  นายชญาน์ แหวนหล่อ รหัส นายธนวัฒน์ วัฒนราช รหัส
การบ้าน ข้อ 1 จงพิสูจน์ว่า
ตัวเก็บประจุ ( capacitor )
โดย นายชญาน์ แหวนหล่อ นายธนวัฒน์ วัฒนราช
EEET0770 Digital Filter Design Centre of Electronic Systems and Digital Signal Processing การออกแบบตัวกรองดิจิตอล Digital Filters Design Chapter 2 z-Transform.
EEET0770 Digital Filter Design Centre of Electronic Systems and Digital Signal Processing การออกแบบตัวกรองดิจิตอล Digital Filters Design Chapter 3 Digital.
DSP 4 The z-transform การแปลงแซด
วงจรไฟฟ้ากระแสสลับ EG 3 กันยายน 2551.
Physics II Unit 5 Part 2 วงจร RLC.
การแปลงลาปลาซ (Laplace transform) เป็นวิธีการหนึ่งที่สามารถใช้หาผลเฉลยของปัญหาค่าตั้งต้นของสมการเชิงอนุพันธ์ “เราจะใช้การแปลงลาปลาซ แปลงจากปัญหาค่าตั้งต้นของสมการเชิงอนุพันธ์
บทที่ 8 เมตริกซ์และตัวกำหนด.
สมการเชิงอนุพันธ์อย่างง่าย
หน่วยที่ 3 อินทิกรัลและการประยุกต์
หน่วยที่ 8 อนุพันธ์ย่อย (partial derivative).
พฤติกรรมพลวัตมอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรง
บทที่ 4 การแปรสภาพพลังงานกลไฟฟ้า
บทที่ 4 การโปรแกรมเชิงเส้น (Linear Programming)
CHAPTER 8 Sinusoids and Phasors
CHAPTER 11 Two-port Networks
1 CHAPTER 2 Basic Laws A. Aurasopon Electric Circuits ( )
CHAPTER 4 Circuit Theorems
Second-Order Circuits
CHAPTER 10 AC Power Analysis
Sinusoidal Steady-State Analysis
สมการเชิงอนุพันธ์ย่อย สมการเชิงอนุพันธ์ที่มีตัวแปรอิสระเพียงตัวเดียว เรียกว่า สมการเชิงอนุพันธ์ธรรมดา (ordinary differential equation) สมการเชิงอนุพันธ์ที่มีตัวแปรอิสระมากกว่า.
สัดส่วนและการหาค่าตัวแปร
การเขียนรายงานการวิจัย
การแปรผกผัน ( Inverse variation )
สัปดาห์ที่ 14 ผลตอบสนองต่อความถี่ Frequency Response (Part II)
กำลังไฟฟ้าที่สภาวะคงตัวของวงจรไฟฟ้ากระแสสลับ
กำลังไฟฟ้าที่สภาวะคงตัวของวงจรไฟฟ้ากระแสสลับ
สัปดาห์ที่ 7 การแปลงลาปลาซ The Laplace Transform.
สัปดาห์ที่ 13 ผลตอบสนองต่อความถี่ Frequency Response (Part I)
สัปดาห์ที่ 6 วงจรไฟฟ้าสามเฟส Three-Phase Circuits (Part II)
ผศ.วิภาวัลย์ นาคทรัพย์ ภาควิศวกรรมไฟฟ้า มหาวิทยาลัยสยาม
สัปดาห์ที่ 15 โครงข่ายสองพอร์ท Two-Port Networks (Part I)
สัปดาห์ที่ 10 (Part II) การวิเคราะห์วงจรในโดเมน s
Electrical Circuit Analysis 2
Sinusiodal Steady-State Analysis
การวิเคราะห์วงจรโดยใช้ฟูริเยร์
สัปดาห์ที่ 5 ระบบไฟฟ้าสามเฟส Three Phase System.
ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า มหาวิทยาลัยสยาม
การวิเคราะห์วงจรโดยใช้ฟูริเยร์
Asst.Prof. Wipavan Narksarp Siam University
ผศ.วิภาวัลย์ นาคทรัพย์ ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า มหาวิทยาลัยสยาม
สัปดาห์ที่ 16 โครงข่ายสองพอร์ท Two-Port Networks (Part II)
Asst.Prof.Wipavan Narksarp Siam University
Asst.Prof. Wipavan Narksarp Siam University
หน่วยที่ 3 คุณลักษณะสมบัติของ RLC
ความรู้พื้นฐานทางวิศวกรรมไฟฟ้า(252282) หน่วยและปริมาณทางไฟฟ้า
กสิณ ประกอบไวทยกิจ ห้องวิจัยการออกแบบวงจรด้วยระบบคอมพิวเตอร์(CANDLE)
ความรู้พื้นฐานทางวิศวกรรมไฟฟ้า(252282) วงจรไฟฟ้ากระแสสลับ(ตอน 3)
ความรู้พื้นฐานทางวิศวกรรมไฟฟ้า(252282) กฎของโอห์ม การคำนวณและการวัด
วงจรไฟฟ้ากระแสสลับ AC-Circuits Outline
รูปที่ 1 แสดงการต่อโหลดแบบผสม
บทที่ ๗ เรื่องทฤษฎีของเทวินิน
บทที่ ๘ ทฤษฎีของนอร์ตัน
4 The z-transform การแปลงแซด
การวิเคราะห์แบบลูป ตอนที่ ๑ การวิเคราะห์ลูปแบบทั่วไป
1 การกำจัดรีโซแนนซ์การบิดด้วย วงจรกรองแบบช่องบาก รูปที่ 5.1 โครงสร้างของระบบที่ใช้วงจรกรองแบบช่องบาก (5-1) (5-10) (5- 11)
1 การกำจัดรีโซแนนซ์การบิดด้วยตัว ชดเชยจากวิธีแผนผังค่าสัมประสิทธิ์ (CDM) รูปที่ 4.1 ระบบตามโครงสร้าง CDM.
วงจรไฟฟ้ากระแสสลับ วงจรไฟฟ้า LC ค่า RMS หมายความว่าอย่างไร
ส่วนประกอบของวงจรไฟฟ้า
ทฤษฎีของมิลล์แมน.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การวิเคราะห์วงจรในโดเมน s Circuit Analysis in The s-Domain สัปดาห์ที่ 9 การวิเคราะห์วงจรในโดเมน s Circuit Analysis in The s-Domain (Part I)

จุดประสงค์การเรียนรู้ สามารถแปลงวงจรจากโดเมนเวลาเป็นโดเมนความถี่เชิงซ้อนได้ สามารถวิเคราะห์วงจรโดยการใช้การแปลงลาปลาซ และการแปลงลาปลาซผกผันได้ ใช้การวิเคราะห์โดยใช้การแบ่งแรงดัน และการแบ่งกระแสมาประยุกต์ ในการวิเคราะห์วงจรได้ หาความสัมพันธ์ของฟังก์ชันถ่ายโอนได้

เนื้อหา การวิเคราะห์วงจรที่ประกอบด้วย แหล่งจ่ายอิสระ ตัวต้านทาน ตัวเหนี่ยวนำ ตัวเก็บประจุ ฟังก์ชันถ่ายโอน อิมพิแดนซ์ บทสรุป

กระแสที่ไหลผ่านตัวเหนี่ยวนำ การวิเคราะห์วงจรที่ประกอบด้วยอุปกรณ์สะสมพลังงาน ขั้นตอนในการวิเคราะห์วงจรของสมการเชิงอนุพันธ์โดยใช้วิธีการแปลงลาปลาซ กำหนดตัวแปรในวงจรตัวอย่าง กระแสที่ไหลผ่านตัวเหนี่ยวนำ แรงดันที่ตกคร่อมตัวเก็บประจุ เขียนสมการเชิงอนุพันธ์ของวงจร ตัวเหนี่ยวนำ ตัวเก็บประจุ กำหนดค่าเริ่มต้นของตัวแปรในวงจร แปลงลาปลาซสมการเชิงอนุพันธ์ แก้สมการโดยวิธีการของโดเมน s เพื่อหาค่าตัวแปรที่ไม่ทราบค่า ใช้กฎของคาร์เมอร์ (Cramer’s rule) แก้สมการโดยวิธีการแปลงลาปลาซผกผันเพื่อหาค่าตัวแปร ใช้การแยกเศษส่วนย่อย เปิดตารางลาปลาซเพื่อหาค่าตัวแปรที่แปรตามเวลาตามต้องการ

ตัวอย่างที่ 1 กำหนดให้ค่าเริ่มต้นของกระแสที่ไหลผ่านตัวเหนี่ยวนำ จงวิเคราะห์หากระแส วิธีทำ เขียนสมการเชิงอนุพันธ์ของแรงดันในลูป โดยใช้ KVL แปลงลาปลาซ แปลงลาปลาซแหล่งจ่ายแรงดัน ค่าพารามิเตอร์ต่างๆที่กำหนด

ใช้การแยกเศษส่วนย่อยเพื่อหาค่ากระแส หาค่าของ หาค่าของ แทนค่า และ เปิดตารางลาปลาซ ตารางที่ 5.1 เพื่อหาค่ากระแส

ตัวอย่างที่ 2 จงวิเคราะห์หากระแส และแรงดัน กำหนดให้ และ เมื่อแหล่งจ่ายแรงดันเป็น วิธีทำ KVL ในลูปกระแส สมการกระแสของตัวเก็บประจุ แปลงลาปลาซ แทนค่าแหล่งจ่ายแรงดันในโดเมน s แทนค่าพารามิเตอร์ต่างๆ

ค่ากระแสในโดเมน s แยกเศษส่วนย่อย เปิดตารางลาปลาซ

ค่าแรงดันในโดเมน s เปิดตารางลาปลาซ

อิมพิแดนซ์ในโดเมนความถี่เชิงซ้อนหรือโดเมน s ฟังก์ชันถ่ายโอนและอิมพิแดนซ์ ฟังก์ชันถ่ายโอน (Transfer function :H(s)) คืออัตราส่วนของแรงดันหรือกระแสในวงจรต่อแหล่งจ่ายแรงดันหรือแหล่ง จ่ายกระแสในโดเมนความถี่เชิงซ้อนหรือโดเมน s โดยที่เงื่อนไขเริ่มต้นเป็นศูนย์ อิมพิแดนซ์ในโดเมนความถี่ คืออัตราส่วนของแรงดันเฟสเซอร์ ต่อกระแส เฟสเซอร์หน่วยเป็นโอห์ม อิมพิแดนซ์ในโดเมนความถี่เชิงซ้อนหรือโดเมน s คืออัตราส่วนของแรงดันในโดเมน s, ต่อกระแสในโดเมน s, โดยที่อุปกรณ์ไม่มีการสะสมพลังงาน แอดมิดแตนซ์ (Admittance) ในโดเมนความถี่เชิงซ้อนเป็นส่วนกลับของค่าอิมพิแดนซ์

กรณีตัวต้านทาน ความสัมพันธ์ของแรงดันและกระแส แปลงลาปลาซ อิมพิแดนซ์ กรณีตัวเหนี่ยวนำ ไม่พิจารณาการสะสมพลังงานในตัวเหนี่ยวนำ ความสัมพันธ์ของแรงดันและกระแส แปลงลาปลาซโดยที่เงื่อนไขเริ่มต้นเป็นศูนย์ อิมพิแดนซ์

กรณีตัวเก็บประจุ ไม่พิจารณาการสะสมพลังงานในตัวเก็บประจุ ความสัมพันธ์ของแรงดันและกระแส แปลงลาปลาซโดยที่เงื่อนไขเริ่มต้นเป็นศูนย์ อิมพิแดนซ์

ตัวอย่างที่ 3 ฟังก์ชันถ่ายโอนเมื่อกำหนดให้แรงดันเอาท์พุทคือแรงดันตกคร่อมตัวต้านทาน และแรงดันอินพุทคือแหล่งจ่ายแรงดัน (ข)จงหาค่าของโพล (Pole) และศูนย์ (Zero) ของฟังก์ชันถ่ายโอน (ค)จงหาแรงดัน กำหนดให้ และแหล่งจ่ายแรงดันเป็นฟังก์ชันขั้นหนึ่งหน่วย

วิธีทำ KVL ในลูปกระแส แรงดันที่ตกคร่อมตัวต้านทาน ฟังก์ชันถ่ายโอน ค่าของศูนย์ ค่าของโพล

แทนค่า แปลงลาปลาซ แหล่งจ่ายแรงดัน ใช้แยกเศษส่วนย่อย แรงดันตกคร่อมตัวต้านทานในโดเมน s เปิดตารางลาปลาซ

ตัวอย่างที่ 4 (ก)จงหาฟังก์ชันถ่ายโอนกำหนดให้แรงดันเอาท์พุทคือแรงดันตกคร่อมตัวต้านทาน และแรงดันอินพุทคือแหล่งจ่ายแรงดัน กำหนดให้ (ข)จงหาแรงดัน และแหล่งจ่ายแรงดันเป็นสัญญาณอิมพัลส์หนึ่งหน่วย (ค)จงหาค่าของโพล (Pole) และศูนย์ (Zero) ของฟังก์ชันถ่ายโอน

อิมพิแดนซ์สมมูล ใช้การแบ่งแรงดันเพื่อหาค่าแรงดัน ฟังก์ชันถ่ายโอน

แทนค่าแหล่งจ่ายในโดเมน s คือ และ ฟังก์ชันถ่ายโอน ค่าของศูนย์ ค่าของโพล เปิดตารางที่ 5.1 เพื่อหาค่าแรงดันเอาท์พุทในโดเมนเวลา

ที่ไม่พิจารณาถึงเงื่อนไขเริ่มต้นของอุปกรณ์สะสมพลังงาน บทสรุปสัปดาห์ที่ 9 การวิเคราะห์วงจรในโดเมน s ประยุกต์ใช้การแปลงลาปลาซเพื่อใช้ในการวิเคราะห์วงจร อธิบายการแปลงอุปกรณ์ต่างๆในโดเมนเวลาให้เป็นโดเมน s ใช้เทคนิคการวิเคราะห์วงจรไฟฟ้ากระแสตรงมาใช้ในการแก้ปัญหา หาความสัมพันธ์ของเอาท์พุทและอินพุทของวงจรหรือที่เรียกว่าฟังก์ชันถ่ายโอน ที่ไม่พิจารณาถึงเงื่อนไขเริ่มต้นของอุปกรณ์สะสมพลังงาน หาค่าศูนย์และค่าโพลของฟังก์ชันถ่ายโอน