วิธีสายงานวิกฤต Critical Path Method แบบ Activity on Arrow.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การพิจารณากิจกรรม(งาน)วิกฤติ(ต่อ)
Advertisements

การศึกษาเชิงลึก โครงการ ระบบควบคุมและแจ้งเตือนในสายการผลิตแบบต่อเนื่อง
Lists Data Structure LAUKHWAN NGAMPRASIT LAUKHWAN NGAMPRASIT.
กรอบแนวทางการทำงาน Dummy Project
EEET0485 Digital Signal Processing Asst.Prof. Peerapol Yuvapoositanon DSP3-1 ผศ.ดร. พีระพล ยุวภูษิตานนท์ ภาควิชา วิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์ DSP 5 The Discrete.
ดร. พีระพล ยุวภูษิตานนท์ ภาควิชา วิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์
DSP 6 The Fast Fourier Transform (FFT) การแปลงฟูริเยร์แบบเร็ว
การกำหนดปัญหา และความต้องการ (Problem Definition and Requirements)
การเขียนผังงาน.
บทที่ 11 การวิเคราะห์โครงข่ายงาน PERT/CPM
ผศ.ดร. พีระพล ยุวภูษิตานนท์ ภาควิชา วิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์
บทที่ 2 หลักการแก้ปัญหา
ผังงานโปรแกรม (Program Flowchart)
แผนผัง FlowChart Flow Chart คือ ขั้นตอนที่นำผลที่ได้จากการกำหนดและการ วิเคราะห์ปัญหามาเขียนเป็นแผนภาพหรือสัญลักษณ์ ประโยชน์ของผังงาน -ช่วยลำดับขั้นตอนการทำงานของโปรแกรม.
เนื้อหา ประเภทของโปรแกรมภาษา ขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรม
Project Management.
หน่วยที่ 2 วิธีการออกแบบโปรแกรม
การควบคุมข่ายงาน (PERT/CPM)
(เฟส 1 ระยะทดลองใช้งาน อรม.อร.)
Use Case Diagram.
การวิเคราะห์สหสัมพันธ์และการถดถอย
C Programming Lecture no. 6: Function.
การหาคุณลักษณะพิเศษของตัวอักษร
SCC : Suthida Chaichomchuen
ระบบจำนวนเต็ม โดย นางสาวบุณฑริกา สูนานนท์
การใช้งานเบื้องต้นของเครื่องคิดเลขทางการเงิน
เครื่องมือช่วยในการจับประเด็น รวบรวมความคิดให้เป็นหมวดหมู่
การบริหารโครงการ (Project anagement)
การวิเคราะห์ Competency
วิธีสายงานวิกฤต Critical Path Method แบบ Activity on Node.
สัปดาห์ที่ 7 การแปลงลาปลาซ The Laplace Transform.
การจัดทำ BARCHART.
บทที่ 3 การวิเคราะห์ Analysis.
การแจกแจงปกติ.
บทที่ 2 หลักการแก้ปัญหา
Week 5 : การบริหารโครงการ
Week 6 : การบริหารโครงการ
บทที่ 3 การทำงานกับฟอร์ม (Form)
บทที่ 3 การทำงานกับฟอร์ม (Form)
คุณครูพรพิมล ตันติวรธรรม โรงเรียนบ้านวังไผ่ สพท.กาญจนบุรี เขต 2
วิชา COSC2202 โครงสร้างข้อมูล (Data Structure)
F M B N สมบัติของจำนวนนับ ตัวคูณร่วมน้อย (ค.ร.น.).
การเขียนโปรแกรมแบบวนซ้ำ: คำสั่ง while คำสั่ง do….while
กองซ้อน ยอดกองซ้อน (stack).
ตัวดำเนินการ และนิพจน์คณิตศาสตร์
ซีเควนซ์ไดอะแกรม(Sequence Diagram)
บทที่ 7 การวิเคราะห์งานและการโปรแกรม แบบมีโครงสร้าง
จุมพฏ พงศ์ศักดิ์ศรี จุมพฏ พงศ์ศักดิ์ศรี
Shortest-Path Algorithms
PERT/CPM.
School of Information Communication Technology,
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
โครงสร้างข้อมูลแบบลิงก์ลิสต์
การแก้ปัญหาโปรแกรม (Flowchart)
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
การค้นในปริภูมิสถานะ
รูปร่างเครือข่ายคอมพิวเตอร์ จัดทำโดย เด็กชาย คณิศร อ้อยกลาง เลขที่ 36 ม.2/5 เสนอ อ.สายฝน เอกกันทา โรงเรียนจักรคำคณาทร จ.ลำพูน.
การกำหนดโครงการ (Project Scheduling: PERT / CPM)
สื่อการสอนด้วยโปรมแกรม “Microsoft Multipoint”
แบบทดสอบก่อนเรียน กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 เรื่อง การนำเสนอข้อมูลและการวิเคราะห์ข้อมูล คะแนนเต็ม 10 คะแนน.
บทที่ 6 การจัดการโครงการ Project Management ญาลดา พรประเสริฐ.
โครงสร้างข้อมูลแบบ สแตก (stack)
โครงการเทคนิคและเทคโนโลยีสนับสนุนงานตรวจสอบ “Risk & Control” จัดโดย สำนักงานตรวจสอบภายใน จุฬาฯ วันที่ 22 กรกฎาคม 2553.
Week 5 While and Do-While loop (Control Structure 2)
การเตรียมข้อมูล (Data preparation)
การบริหารโครงการด้วย PERT & CPM
บทที่ 6 การกำหนดเวลางานโครงการ
บทที่ 7 การวิเคราะห์โครงข่ายงาน PERT/CPM
ใบสำเนางานนำเสนอ:

วิธีสายงานวิกฤต Critical Path Method แบบ Activity on Arrow

CPM Critical Path Method นิยมเรียกว่าทั่วไปว่า C.P.M. เป็นเทคนิคการทำกำหนดการเพื่อการควบคุมงาน เริ่มใช้ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1956 จากบริษัทดูปอนด์ (Dupont) ศึกษาวิเคราะห์และทดลองใช้กับหน่วยงานผลิตของบริษัทพบว่าได้ผลเป็นที่น่าพอใจ ต่อมาเป็นที่ยอมรับและเผยแพร่ต่ออุตสาหกรรมอื่นๆ

CPM แบบ AOA การจัดทำ CPM พื้นฐานจะเป็นลักษณะ Activity on Arrow (AOA) คือการแสดงกิจกรรมด้วยลูกศร เชื่อมระหว่างจุดของเวลาเรียก Node กิจกรรม A

CPM เริ่มต้นจาก Work Package ใน Work Breakdown Structure ซึ่งเป็นกิจกรรมระดับย่อยที่สุด มาเชื่อมโยงกันโดยมีข้อที่คำนึงถึง งานใดบ้างที่เริ่มทำได้ทันที งานใดบ้างที่กระทำไปพร้อมกันได้ งานใดที่ไม่สามารถเริ่มงานได้เนื่องจากต้องคอยอีกงานหนึ่งแล้วเสร็จ งานใดสามารถเริ่มงานได้เลยหลังจากงานหนึ่งแล้วเสร็จ

CPM แบบ AOA จากรูปจะเห็นได้ว่า ต้องคอยกิจกรรม A แล้วเสร็จก่อนจึงจะเริ่มกิจกรรม B, C ได้ จะเริ่มกิจกรรม F ได้ต้องคอยกิจกรรม D, E แล้วเสร็จก่อน 30 D B A F 10 20 50 60 C E 40

Dummy Activity เส้นประแสดงกิจกรรมหุ่น (Dummy Activity) ซึ่งไม่มีความหมายว่าเป็นการทำกิจกรรมใด เพียงแต่ช่วยให้ลำดับกิจกรรมในการเขียนโครงข่ายเป็นไปตามความต้องการ DUMMY 30 D B A F 10 20 50 60 C E 40

DUMMY จากรูปเส้น DUMMY แสดงว่ากิจกรรม D คอย B, C แต่งกิจกรรม E คอย C ตัวเดียว ซึ่งจำเป็นต้องใช้กิจกรรม Dummy ช่วยในการเขียนโครงข่าย 30 D B 20 50 C E 40

DUMMY นอกจากนี้ DUMMY ยังช่วยขจัดความสับสนในการเขียนและคำนวณโครงข่ายในกรณีที่หลายกิจกรรมมีจุดเริ่มต้นและจุดสิ้นสุดเดียวกัน X Y 20 30 30 X Y 40 20

CPM การเขียนโครงข่ายควรหลีกเลี่ยงสายงานที่ซ้อนทับกัน 40 30 X Y 50 20

Activity Table ก่อนที่จะเขียน CPM NETWORK ควรเขียน Activity Table ก่อนเพื่อแสดงระยะเวลา และงานมาก่อนของกิจกรรมทั้งหมดในโครงการ ป้องกันการหลงลืม กิจกรรม ระยะเวลา (วัน) กิจกรรมมาก่อน A 2 - B 5 C 10 D B, C E 6 F 3 D, E

DUMMY จากตาราง Activity Table สร้างโครงข่ายและเขียนระยะเวลาลงในโครงข่ายกิจกรรม 30 D, 5 B,5 F, 3 A, 2 10 20 50 60 C, 10 E, 6 40

ตัวแปรต่างๆ ในการคำนวณ CPM ต้องทราบถึงตัวแปร ดังนี้ ES - Early Start วันที่เริ่มเร็วที่สุด EF - Early Finish วันที่เสร็จเร็วที่สุด LS - Late Start วันที่เริ่มช้าที่สุด LF - Late Finish วันที่เสร็จช้าที่สุด TF - Total Float เวลาลอยตัวรวม FF - Free Float เวลาลอยตัวอิสระ

การคำนวณ CPM เริ่มจากกิจกรรมแรกจะเขียนให้เริ่ม ณ วันที่ 0 B,5 D, 5 0, 30 0, A, 2 F, 3 20 60 10 50 C, 10 E, 6 40

การคำนวณ CPM เริ่มคำนวณโดยบวกระยะเวลากิจกรรมเป็น ES ของกิจกรรมถัดไปโดยแสดงไว้บน Node และ หาก Node ใดมีกิจกรรมเชื่อมเข้ามากกว่า 1 ให้เลือกค่าที่มากกว่า เนื่องจากกิจกรรมถัดไปต้องคอยกิจกรรมมาก่อนที่เสร็จช้ากว่าจึงจะเริ่มกิจกรรมต่อไปได้ 12, D, 5 B,5 12 2 7 17 30 2, 21, 0, 18, F, 3 18 A, 2 21 2 20 60 10 50 12, 18 2 C, 10 E, 6 12 12 40

การคำนวณ CPM เมื่อคำนวณไปข้างหน้าจบถึงกิจกรรมสุดท้าย ให้คำนวณย้อนกลับ โดยเริ่มจาก Node ท้ายสุด กำหนด LF และ ลบระยะเวลาของแต่ละกิจกรรม เพื่อหา LS 12, B,5 2 7 D, 5 30 12 17 2, 21,21 0, 18, F, 3 18 A, 2 21 2 20 60 10 50 12, 18 C, 10 40 E, 6 2 12 12

การคำนวณ CPM คำนวณย้อนกลับ โดยเริ่มจาก Node ท้ายสุด กำหนด LF และ ลบระยะเวลาของแต่ละกิจกรรม เพื่อให้ได้ค่า LS 12,13 D, 5 B,5 7 17 2 30 12 8 13 13 18 2,2 21,21 0,0 18,18 F, 3 A, 2 21 2 20 18 60 10 50 2 18 21 12,12 E, 6 C, 10 18 40 2 12 12 2 12 18 12

การคำนวณ CPM LF-LS หรือ LF-EF คือ ค่า Total Float หมายถึง เวลาที่กิจกรรมนั้นล่าช้าได้โดยไม่กระทบต่อเวลาแล้วเสร็จของโครงการ กิจกรรมที่เป็นวิกฤตคือ TF=0 หมายถึง ล่าช้าไม่ได้เลย ตัวอย่างนี้สายงานวิกฤตคือ A-C-E-F 12,13 D, 5 B,5 7 17 2 30 12 8 13 13 18 6 1 2,2 21,21 0,0 18,18 F, 3 A, 2 21 2 20 18 60 10 50 2 18 21 12,12 C, 10 E, 6 18 40 2 12 12 2 12 18 12

การคำนวณ CPM Free float คือ EF ของกิจกรรมนั้นลบด้วย ES ของกิจกรรมถัดไป หมายถึง เวลาที่กิจกรรมนั้นสามารถล่าช้าได้โดยไม่กระทบต่อ Float ของงานอื่น ตัวอย่างกิจกรรม B มี FF=5 วัน หมายถึงช้าได้ 5 วันโดยไม่กระทบกับ Float ของงาน D 12,13 D, 5 B,5 7 17 2 30 12 8 6,5 13 13 1,1 18 2,2 21,21 0,0 18,18 F, 3 A, 2 21 2 20 18 60 10 50 0,0 2 18 21 0,0 12,12 E, 6 C, 10 18 40 2 12 12 2 12 18 0,0 12 0,0

รายงานวันที่กิจกรรม นำผลที่ได้จากการคำนวณซึ่งเป็นจำนวนวันมาปรับเป็น วันเดือนปี เพื่อการใช้งาน และนำไปใช้ใน Bar chart ตามต้องการ Dur. ES EF LS LF TF FF A 2 Mon 2/5/05 Tue 3/5/05 0d B 5 Wed 4/5/05 Tue 10/5/05 Thu 12/5/05 Wed 18/5/05 6d 5d C 10 Tue 17/5/05 D Tue 24/5/05 Thu 19/5/05 Wed 25/5/05 1d E 6 F 3 Thu 26/5/05 Mon 30/5/05