แม่เหล็กไฟฟ้า Electro Magnet

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ห้องปฏิบัติการวิศวกรรมไฟฟ้ากำลัง
Advertisements

สื่อการเรียนรู้ด้วยตนเอง วิชา ฟิสิกส์ เรื่อง คลื่น ระดับช่วงชั้นที่ 4
บทที่ 2 เวกเตอร์แรง.
ไฟฟ้ากระแสสลับ Alternating Current
ไฟฟ้ากระแสสลับ (Alternating Current)
CHAPTER 9 Magnetic Force,Materials,Inductance
สมดุลกล (Equilibrium) ตัวอย่าง
Conductors, dielectrics and capacitance
ตอบคำถาม 1. วงจรไฟฟ้า หมายถึง ตัวนำไฟฟ้า หมายถึง
นางสาวสุวรรณี อินทรีเนตร เลขที่ 26
X-Ray Systems.
Welcome to Electrical Engineering KKU.
ดวงอาทิตย์ (The Sun).
การศึกษาเกี่ยวกับแรง ซึ่งเป็นสาเหตุการเคลื่อนที่ของวัตถุ
ขั้นตอนทำโจทย์พลศาสตร์
ระบบอนุภาค การศึกษาอนุภาคตั้งแต่ 2 อนุภาคขึ้นไป.
การเคลื่อนที่ของวัตถุเกร็ง
ตัวอย่าง วัตถุก้อนหนึ่ง เคลื่อนที่แนวตรงจาก A ไป B และ C ตามลำดับ ดังรูป 4 m A B 3 m 1 อัตราเร็วเฉลี่ยช่วง A ไป B เป็นเท่าใด.
โมเมนตัมเชิงมุม เมื่ออนุภาคเคลื่อนที่ โดยมีจุดตรึงเป็นจุดอ้างอิง จะมีโมเมนตัมเชิงมุม โดยโมเมนตัมเชิงมุมหาได้ตามสมการ ต่อไปนี้ มีทิศเดียวกับ มีทิศเดียวกับ.
Rigid Body ตอน 2.
Electromagnetic Wave (EMW)
พลศาสตร์ในของไหล สมการการต่อเนื่อง สมการแบร์นูลลี การไหลที่มีความหนืด
2. การเคลื่อนที่แบบหมุน
โครงสร้างอะตอม (Atomic structure)
การวิเคราะห์ข้อสอบ o-net
Physics II Unit 5 ความเหนี่ยวนำไฟฟ้า และ วงจรไฟฟ้ากระแสสลับ.
บทที่ 2 ศักย์ไฟฟ้า พลังงานไฟฟ้าสถิตย์
กฎของบิโอต์- ซาวารต์ และกฎของแอมแปร์
Physics II Unit 5 Part 2 วงจร RLC.
วันนี้เรียน สนามไฟฟ้า เส้นแรงไฟฟ้า
ENCODER.
IDEAL TRANSFORMERS.
1 บทที่ 7 สมบัติของสสาร. 2 ตัวอย่าง ความยาวด้านของลูกบาศก์อลูมิเนียม มีค่าเท่าใด เมื่อน้ำหนักอลูมิเนียมมีค่าเท่ากับ น้ำหนักของทอง กำหนดความหนาแน่น อลูมิเนียม.
ตัวอย่างปัญหาการเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์
พฤติกรรมพลวัตมอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรง
บทที่ 4 การแปรสภาพพลังงานกลไฟฟ้า
สื่อการสอนเรื่องแรงบนตัวนำ
ระบบอนุภาค.
1 CHAPTER 2 Basic Laws A. Aurasopon Electric Circuits ( )
1 CHAPTER 1 Introduction A. Aurasopon Electric Circuits ( )
ตัวเหนี่ยวนำ (Inductor)
โรงไฟฟ้าพลังน้ำ Hydro Power Plant.
PH114(SCE102) ปฏิบัติการฟิสิกส์ 2
52. ยิงลูกปืนออกไปในแนวระดับ ทำให้ลูกปืนเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์ ตอนที่ลูกปืน กำลังจะกระทบพื้น ข้อใดถูกต้องที่สุด (ไม่ต้องคิดแรงต้านอากาศ) 1. ความเร็วในแนวระดับเป็นศูนย์
หม้อแปลง.
คลื่นหรรษา ตอนที่ 1 คลื่นหรรษา ตอนที่ 1 โดย อ.ดิลก อุทะนุต.
(สถิตยศาสตร์วิศวกรรม)
ไฟฟ้ากระแสตรง Direct Current
ไฟฟ้าสถิต (static electricity)
 แรงและสนามของแรง ฟิสิกส์พื้นฐาน
กำลังไฟฟ้าที่สภาวะคงตัวของวงจรไฟฟ้ากระแสสลับ
สัปดาห์ที่ 5 ระบบไฟฟ้าสามเฟส Three Phase System.
อุปกรณ์ไฟฟ้าโดยทั่วไป (General Electric Equipment)
การประหยัดพลังงานในระบบส่งจ่ายกำลังไฟฟ้า
หน่วยที่ 4 การปรับปรุงตัวประกอบกำลัง
ตัวต้านทาน ทำหน้าที่ ต้านทานและจำกัดการไหลของกระแสไฟฟ้าในวงจร
โดย อ.วัชรานนท์ จุฑาจันทร์
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับวงจรไฟฟ้า
ความรู้พื้นฐานทางวิศวกรรมไฟฟ้า(252282) หน่วยและปริมาณทางไฟฟ้า
วงจรไฟฟ้ากระแสสลับ AC-Circuits Outline
Magnetic Particle Testing
พลังงาน (Energy) เมื่อ E คือพลังงานที่เกิดขึ้น        m คือมวลสารที่หายไป  และc คือความเร็วแสงc = 3 x 10 8 m/s.
หลักการกำเนิดไฟฟ้ากระแสสลับ
บทที่ 5 เครื่องกําเนิดไฟฟากระแสสลับ (AC Generator)
13.2 ประจุไฟฟ้า ฟิสิกส์ 4 (ว30204) กลับเมนูหลัก.
ชนิดของคลื่น ฟังก์ชันคลื่น ความเร็วของคลื่น กำลัง, ความเข้มของคลื่น
ดาวพุธ (Mercury).
สนามแม่เหล็กและแรงแม่เหล็ก
ส่วนประกอบของวงจรไฟฟ้า
โลกและสัณฐานของโลก.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

แม่เหล็กไฟฟ้า Electro Magnet เชิดชัย พลกุล กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนวาปีปทุม

แม่เหล็กไฟฟ้า (Electro Magnet) 1 แม่เหล็ก (magnet) เป็นวัตถุที่สามารถดูดเหล็ก หรือ สารแม่เหล็ก(magnetic substance)ได้

แม่เหล็กไฟฟ้า (Electro Magnet) 2 การหาขั้วแม่เหล็ก (magnets pole) N S ขั้วที่ชี้ไปทางทิศเหนือ เรียก ขั้วเหนือ (north pole) ขั้วที่ชี้ไปทางทิศใต้ เรียก ขั้วใต้ (south pole)

แม่เหล็กไฟฟ้า (Electro Magnet) 3 เส้นแรงแม่เหล็ก (magnetic field lines) N S นำเข็มทิศวางที่ตำแหน่ง ต่าง ๆ รอบแท่งแม่เหล็ก จะได้แนวการวางตัวของ เข็มทิศ เส้นแรงแม่เหล็ก มีทิศออกจากขั้ว N ไปขั้ว S

แม่เหล็กไฟฟ้า (Electro Magnet) 4 สนามแม่เหล็กโลก (Earth’s magnetic field)

แม่เหล็กไฟฟ้า (Electro Magnet) 5 การเขียนทิศของสนามแม่เหล็ก x x x x x x x x x x x x x x x x x x x x x x x x x x x x x x x x x x x B . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . B สนามแม่เหล็กมีทิศพุ่งเข้า สนามแม่เหล็กมีทิศพุ่งออก

แม่เหล็กไฟฟ้า (Electro Magnet) 6 ขนาดของสนามแม่เหล็ก ( ) สนามแม่เหล็กตั้งฉากกับพื้นที่ สนามแม่เหล็กไม่ตั้งฉากกับพื้นที่ B sin  B cos  เมื่อ B = สนามแม่เหล็ก (Wb/m2 ;Tasla)  = ฟลักซ์แม่เหล็ก (Weber) A = พื้นที่ที่ฟลักซ์แม่เหล็กผ่าน (m2)

แม่เหล็กไฟฟ้า (Electro Magnet) 7  โจทย์ฝึกทักษะสนามแม่เหล็ก 1. ณ บริเวณพื้นที่ 1 cm2 มีสนามแม่เหล็กขนาด 0.5 เทสลา ฟลักซ์แม่เหล็กบริเวณดังกล่าว มีค่าเท่าใด 2. ณ บริเวณพื้นที่หนึ่งมีสนามแม่เหล็กขนาด 10-6 T และมีฟลักซ์แม่เหล็ก 3 x 10-12 Wb ถ้าทิศสนาม แม่เหล็กทำมุมกับแนวตั้งฉากกับพื้นที่ 60o พื้นที่ ดังกล่าวมีค่าเท่าใด 3. จากรูป จงหาฟลักซ์แม่เหล็ก บนพื้นที่ เมื่อสนามแม่เหล็ก มีค่า 5.0 T ในแนวแกน X Y Z X 3 cm 4 cm a d b 3 cm c

แม่เหล็กไฟฟ้า (Electro Magnet) 8 แรงกระทำต่ออนุภาคที่มีประจุ ซึ่งเคลื่อนที่ใน สนามแม่เหล็ก x x x x x x x x x x x x x x x x x x x x x x x x x x x x x x x x x x x B v +

แม่เหล็กไฟฟ้า (Electro Magnet) 9  โจทย์ฝึกทักษะแรงแม่เหล็ก 1. อิเล็กตรอนเคลื่อนที่ด้วยความเร็ว 1.6 x 108 m/s เข้าสู่บริเวณที่มีสนามแม่เหล็กขนาด 3 x 10-4 T ในทิศตั้งฉากกับสนามแม่เหล็ก อิเล็กตรอนจะ เคลื่อนที่เป็นวงกลมด้วยรัศมีเท่าใด 2. อนุภาคที่มีประจุเคลื่อนที่เข้าไปในบริเวณที่มี สนามแม่เหล็ก รูปใดแสดงแนวการเคลื่อนที่ ของประจุได้ถูกต้อง x x x x . . . . 1 3 2 - +   

แม่เหล็กไฟฟ้า (Electro Magnet) 10 แรงกระทำต่อลวดตัวนำที่มีกระแสไฟฟ้าไหล ผ่าน ซึ่งวางในสนามแม่เหล็ก ทิศการเคลื่อนที่ หรือแรงฉุดลวด N S ทิศของสนามแม่เหล็ก ทิศของกระแสไฟฟ้า

แม่เหล็กไฟฟ้า (Electro Magnet) 11 แรงกระทำต่อลวดตัวนำที่มีกระแสไฟฟ้าไหล ผ่าน ซึ่งวางในสนามแม่เหล็ก x x x x x x x x x x x x x x x x x x x x x x x x x x x x x x x x x x x B I

แม่เหล็กไฟฟ้า (Electro Magnet) 12  โจทย์ฝึกทักษะแรงแม่เหล็ก 1. เมื่อนำลวดตัวนำยาว 10 cm มวล 100 g ที่มี กระแสไฟฟ้าไหล 10 A วางสนามแม่เหล็กขนาด 0.4 T จงหาแรงกระทำต่อลวดตัวนำ และความเร่ง ของลวดตัวนำ 2. x x x x ลวดยาว 2.5 m วางอยู่ใน x x x x สนามแม่เหล็ก 1.5 x 10-3 T x x x x มีกระแสไหล 20 A เพื่อทำ x x x x ให้ลวดลอยขึ้น ถ้าต้องการให้ x x x x ลวดลอยนิ่งได้ น้ำหนักของ ลวดต้องมีค่าเท่าใด

แม่เหล็กไฟฟ้า (Electro Magnet) 13 สนามแม่เหล็กจากกระแสไหลผ่านลวดตัวนำ . . . x x x . . . x x x . . . x x x . . . x x x . . . x x x I Han Christion Oersted พบว่า เมื่อมีกระแสไฟฟ้าไหลผ่านตัวนำจะมี สนามแม่เหล็กเกิดขึ้นรอบ ๆ ตัวนำนั้น

แม่เหล็กไฟฟ้า (Electro Magnet) 14 แรงระหว่างลวดตัวนำสองเส้นขนานกันที่มี I B แรงบน B เนื่องจาก A I A . . . x x x . . . x x x . . . x x x . . . x x x . . . x x x I A แรงบน A เนื่องจาก B I . . . x x x . . . x x x . . . x x x . . . x x x . . . x x x I B F F I ทิศเดียวกัน เกิดแรงดึงดูด A B I ทิศตรงกันข้ามเกิดแรงผลัก A B F F F F

แม่เหล็กไฟฟ้า (Electro Magnet) 15 แรงกระทำต่อขดลวดมี I ที่อยู่ในสนามแม่เหล็ก I เมื่อมีกระแสไหล (I) ในขดลวด ที่อยู่ในสนามแม่เหล็ก จะเกิดแรงคู่ควบ ( ) กระทำต่อขดลวดทำให้ขดลวดเกิด การหมุน (โมเมนต์)

แม่เหล็กไฟฟ้า (Electro Magnet) 16 โมเมนต์ของแรงคู่ควบที่เกิดบนขดลวดที่มี I a  จาก MC = แรง  ระยะตั้งฉากระหว่างแนวแรง

แม่เหล็กไฟฟ้า (Electro Magnet) 17  โจทย์ฝึกทักษะโมเมนต์แรงคู่ควบ 1. ขดลวดรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสยาวด้านละ 5 cm มีขด ลวดพันอยู่ 400 รอบ วางในสนามแม่เหล็กคงที่ 5 x 10-3 T โดยเอียงทำมุม 60o กับแนวระนาบ แม่เหล็ก ขณะที่มีกระแสไฟฟ้า 15 A ไหลผ่าน ขดลวดจะเกิดโมเมนต์ของแรงคู่ควบเท่าใด 2. ขดลวดตัวนำขนาด 4 x 5 cm มีจำนวน 50 รอบ หมุนอยู่ในสนามแม่เหล็ก ขนาด 2 x 10-5 T โดยมีกระแสไฟฟ้าไหลผ่านขดลวด 5 A จงหา โมเมนต์ของแรงคู่ควบที่เกิดขึ้น เมื่อระนาบของ ขดลวดตั้งฉากและขนานกับสนามแม่เหล็ก

แม่เหล็กไฟฟ้า (Electro Magnet) 18 กระแสไฟฟ้าเหนี่ยวนำ ค้นพบโดยฟาราเดย์เป็นผลจากการเปลี่ยนแปลงเส้นแรงแม่เหล็กที่ตัดกับขดลวดตัวนำ ทำให้เกิดแรงเคลื่อนไฟฟ้าขึ้นในขดลวด

แม่เหล็กไฟฟ้า (Electro Magnet) 19 การผลิตพลังงานไฟฟ้า การผลิตพลังงานไฟฟ้า จะใช้ไดนาโม(Dynamo) ซึ่งเป็นเครื่องกลเปลี่ยนพลังงานกลเป็นพลังงานไฟฟ้า Alternating Current Dynamo Direct Current Dynamo

แม่เหล็กไฟฟ้า (Electro Magnet) 20 การผลิตพลังงานไฟฟ้า ไดนาโม (Dynamo) ทั้งกระแสตรงและกระแสสลับจะมี 2 แบบ คือ แบบให้ขดลวดหมุน และแบบแท่งแม่เหล็กหมุน Direct Current Dynamo เครื่องกำเนิดไฟฟ้า 3 เฟส

แม่เหล็กไฟฟ้า (Electro Magnet) 21 การส่งกำลังไฟฟ้า การส่งกระแสไฟฟ้า จากแหล่งกำเนิดไฟฟ้า จะต้องส่งด้วย แรงเคลื่อนไฟฟ้าสูง ๆ เพื่อลดการสูญเสียพลังงาน

แม่เหล็กไฟฟ้า (Electro Magnet) 22 หม้อแปลงไฟฟ้า (Transformer) เป็นเครื่องมือที่ใช้เปลี่ยนแปลงแรงเคลื่อนไฟฟ้า ให้มีค่าสูงขึ้นหรือต่ำลง

แม่เหล็กไฟฟ้า (Electro Magnet) 23 หม้อแปลงไฟฟ้า (Transformer) ประเภทของหม้อแปลงไฟฟ้า

แม่เหล็กไฟฟ้า (Electro Magnet) 24 หม้อแปลงไฟฟ้า (Transformer) สมการของหม้อแปลงไฟฟ้า ประสิทธิภาพของ หม้อแปลงไฟฟ้า กรณีหม้อแปลงไฟฟ้า มีประสิทธิภาพ 100%

แม่เหล็กไฟฟ้า (Electro Magnet) 25  โจทย์ฝึกทักษะหม้อแปลง 1. หม้อแปลงไฟฟ้าเครื่องหนึ่งมีจำนวนรอบของ ขดลวดปฐม 100 รอบ และขดลวดทุติยภูมิ 500 รอบ เมื่อต่อกับไฟฟ้าแรงเคลื่อน 220 V แรงเคลื่อนไฟฟ้าออกจะมีค่าเท่าใด 2. ขดลวดทุติยภูมิของหม้อแปลงตัวหนึ่งมีความ ต้านทาน 100  ปลายทั้งสองข้างต่อกับเครื่อง ต้มน้ำไฟฟ้าความต้านทาน 200  ใช้กระแส ไฟฟ้า 4 A ถ้าหม้อแปลงมีประสิทธิภาพ 80% และ ค.ต.ศ. ของขดลวดปฐมภูมิเป็น 200 V จงหากระแสไฟฟ้าในขดลวดปฐมภูมิ