วงจรผสมคลื่นความถี่วิทยุแบบ FM

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โครงสร้างและคุณสมบัติพื้นฐาน ของสายอากาศแบบต่างๆ
Advertisements

คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า ข้อสอบ o-Net.
คณิตศาสตร์ประยุกต์ 2 ค่ามัธยฐาน จัดทำโดย อ.เทวี บัวแย้ม.
Combination Logic Circuits
ลอจิกเกต (Logic Gate).
วงจรสวิตช์ประจุ(Switched Capacitor)
วงจรลบแรงดัน (1).
ผลกระทบของแรงดันอินพุตออฟเซ็ตต่อวงจรขยาย
EEET0485 Digital Signal Processing Asst.Prof. Peerapol Yuvapoositanon DSP10-1 DSP 10 Multirate Signal Processing การประมวลผลแบบหลายอัตราสุ่ม ดร. พีระพล.
หน่วยแสดงผลข้อมูลออก (Output)
การนำเทคโนโลยีสารสนเทศการศึกษา
วงจรรวมหรือไอซี (Integrated Circuit, IC) และไอซีออปแอมบ์(OP-AMP )
ตัวเก็บประจุ ( capacitor )
General Purpose TV Interfacing Module
EDGE GPRS.
Centre of Electronic Systems and Digital Signal Processing EEET0770 Digital Filter Design การออกแบบตัวกรองดิจิตอล Digital Filters Design Chapter 6 Multirate.
การสื่อสารข้อมูล.
DSP 10 Multirate Signal Processing การประมวลผลแบบหลายอัตราสุ่ม
CHAPTER 17 FOURIER SERIES
เครื่องเสียงเพื่อการศึกษา
Bluetooth (ฟันสีฟ้า).
ตัวอย่างขั้นตอนในการสืบค้นข้อมูล
Modulation เป็น เทคนิคที่ใช้ในการปรับ/เปลี่ยนรูปแบบของสัญญานไฟฟ้าของ คลื่นนำ เพื่อให้สัญญานนั้นสามารถนำพา ข้อมูลไปยังปลายทางได้
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ RFID
การคำนวณค่าสถิติเบื้องต้น … สถิติเชิงพรรณนา
รายวิชา ง40101 เทคโนโลยีสารสนเทศพื้นฐาน
ลักษณะเวทีและการจัดที่นั่งผู้ชมในโรงละคร
เครื่องเคาะสัญญาณ.
เทคโนโลยีไร้สายและดาวเทียม
ระบบการสื่อสารข้อมูล (Data Communication System)
บทที่ 3 การส่งผ่านข้อมูล และการอินเตอร์เฟซ
สมบัติของคลื่น 1. การสะท้อน 2. การหักเห 3. การแทรกสอด 4. การเลี้ยวเบน.
การใช้โปรแกรมแปลงไฟล์วีดีโอ
การสื่อสารข้อมูล Data Communication Chapter 10 วชิรธรรมสาธิต
การวัดและทดสอบการทำงานของวงจรเครื่องส่งวิทยุ
วงจรขยายความถี่สูง และ วงจรขยายกำลังความถี่สูง
สัปดาห์ที่ 14 ผลตอบสนองต่อความถี่ Frequency Response (Part II)
กำลังไฟฟ้าที่สภาวะคงตัวของวงจรไฟฟ้ากระแสสลับ
สัปดาห์ที่ 13 ผลตอบสนองต่อความถี่ Frequency Response (Part I)
สัปดาห์ที่ 15 โครงข่ายสองพอร์ท Two-Port Networks (Part I)
การวิเคราะห์วงจรในโดเมน s Circuit Analysis in The s-Domain
การใช้บอร์ดควบคุมสำหรับ Robot 35 in 1
VD D คีย์ สวิทช์ องค์ประกอบการทำงานเบื้องต้นของไอซีไมโครคอมพิวเตอร์ OS C2 RS T VS S 5 V 4 MHz 5 V.
หน่วยที่ 9 Am Modulation.
หน่วยที่ 5 เครื่องส่งวิทยุ.
บทที่ 2 อินติเกรเตอร์ และ ดิฟเฟอเรนติเอเตอร์.
การสื่อสารประเภทวิทยุ
เรื่อง ตัวกลางของการสื่อสารในเครือข่ายคอมพิวเตอร์
หมวดเครื่องใช้ไฟฟ้า : ลำโพง รายวิชา วิทยาศาสตร์
Principles of Communications Chapter 1 Introduction
บทที่ 3 การผสมสัญญาณ ระบบวิทยุ (Radio System)
Principles of Communications Chapter 5 Communication Media
บทที่ 4 Modulation วิชา... เทคโนโลยีไร้สาย
ADSL คืออะไร.
ระบบ โทรคมนาคม บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับ ระบบโทรคมนาคม.
ประเภทของไฟล์เสียงเสียง
เรื่องเสียง จัดทำโดย ด. ช. เกชาบำรุงปรีชา ด. ช. เฉลิมพลวงค์ศรี ด. ช. เมธิชัยใจมาเชื่อ นาย ธนบดีปิงจันทร์ นาย คริษฐ์วงค์ดาว นักเรียนชั้น ม.3 เสนอ คุณครู
เทคโนโลยีไร้สาย Department of Informatics, Phuket Rajabhat University. THAILAND.
Microsoft Windows Logo
เทคโนโลยีไร้สาย Department of Informatics, Phuket Rajabhat University. THAILAND.
ผู้วิจัย นางสาวพิลาวรรณ พิริยะโภคัย
ด. ญ. มัญชุพร ตันติประเสริฐ เลขที่ 32 ม 3/6 ด. ญ. ศริลักษณ์ ก๋าพรม เลขที่ 36 ม 3/6 ด. ช. ปุญญธิป โกวฤทธิ์ เลขที่ 9 3/6 ด. ช จักรกฤษ สมศักดิ์ เลขที่ 2 3/6.
นางสาวกุลวีณ์ สัตตรัตนามัย โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
1 การกำจัดรีโซแนนซ์การบิดด้วย วงจรกรองแบบช่องบาก รูปที่ 5.1 โครงสร้างของระบบที่ใช้วงจรกรองแบบช่องบาก (5-1) (5-10) (5- 11)
บทที่ 9 การออกแบบวิจัยเชิงพรรณนา : การ สังเกตการณ์
สรูปบทที่ 1 จัดทำโดย ด. ญ. มัญชุพร ตันติประเสริฐ เลขที่ 32 ม 3/6 ด. ญ. ศริลักษณ์ ก๋าพรม เลขที่ 36 ม 3/6 ด. ช. ปุญญธิป โกวฤทธิ์ เลขที่ 9 3/6 ด. ช จักรกฤษ.
การสื่อสารข้อมูล จัดทำโดย นางสาวกาญจนา แสงเพ็ชร
การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการสร้างเว็บเพจ ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตร วิชาชีพ ชั้นปีที่ 3 โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย ที่ได้รับการสอนแบบ.
หน่วยที่ 4 ระบบ วิทยุกระจายเสี ยง ระบบ วิทยุกระจ ายเสียง.
วิชา ทฤษฎีเครื่องรับวิทยุเบื้องต้น (3-0-2)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

วงจรผสมคลื่นความถี่วิทยุแบบ FM

1. กรรมวิธีการกำเนิดสัญญาณเอฟเอ็ม สาระการเรียนรู้ 1. กรรมวิธีการกำเนิดสัญญาณเอฟเอ็ม 2. ระบบเอฟเอ็มสเตอริโอมัลติเพล็กซ์

ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง 1. บอกกรรมวิธีการกำเนิดสัญญาณเอฟเอ็มได้ 2. อธิบายการทำงานของระบบเอฟเอ็มสเตอริโอมัลติเพล็กซ์ได้

รูปแบบการมอดูเลตสัญญาณ 2.การมอดูเลตทางความถี่ ( Frequency Modulation : FM ) หรือเอฟเอ็ม

การวิเคราะห์สมการ FM สัญญาณข่าวสาร สัญญาณคลื่นพาห์

การวิเคราะห์สมการ FM สัญญาณเอาต์พุต คือ

ดัชนีการมอดูเลชั่น ( Modulation Index ) คือ ความถี่เบี่ยงเบน

ไซด์แบนด์เอฟเอ็ม

แบนด์วิดธ์คลื่นเอฟเอ็ม เมื่อ BW คือ ความกว้างของแถบความถี่หรือแบนด์วิดธ์ mf คือ ดัชนีการมอดูเลชั่น ( Modulation Index ) fm หรือ fa คือ ความถี่ของสัญญาณข่าวสาร fd คือ ความถี่เบี่ยงเบนของคลื่นพาห์

การส่งเอฟเอ็มสเตอริโอมัลติเพล็กซ์ ( FM Stereo Multiplex ) หรือรวมกันแล้วผสมกับคลื่นพาห์ก่อนส่งออก ไปยังเครื่องรับ หลังจากนั้น ที่เครื่องรับก็จะมี กระบวนการในการแยกเอาสัญญาณเสียงซีก ซ้าย (L) และ สัญญาณเสียงซีกขวา (R) ออกจากคลื่นพาห์อีกครั้ง

การส่งเอฟเอ็มสเตอริโอมัลติเพล็กซ์

การทำงานของระบบการส่งเอฟเอ็มสเตอริโอมัลติเพล็กซ์ การทำงานของระบบการส่งเอฟเอ็มสเตอริโอมัลติเพล็กซ์ เริ่มจากนำสัญญาณเสียงช่องซ้าย ( Left : L ) ไปรวม ( Adder ) กับสัญญาณเสียงช่องขวา ( Right : R ) ในวงจรวงจรเมตริกซ์จะได้ สัญญาณ L+R และสัญญาณเสียงช่องขวา (Right :R) ป้อนผ่านวงจรอินเวอร์เตอร์ ( Inverter ) เพื่อกลับเฟส 180 องศา กลายเป็นสัญญาณ(-R) เพื่อไปรวมกับสัญญาณ L จะได้ สัญญาณ L-R หลังจากนั้นสัญญาณ L-R ส่งต่อไปยังบาลานซ์ มอดูเลเตอร์ ( Balance Modulator )จะนำไปมอดูเลตกับคลื่นพาห์ย่อย ( Sub Carrier ) ความถี่ 38 กิโลเฮิรตซ์ ที่เข้ามาอีกทางหนึ่ง

สัญญาณไพล็อต ( Pilot Signal ) ประกอบด้วย 3 ส่วนคือ 1. สัญญาณไซด์แบนด์ของ L+R จากภาค L+R 2. สัญญาณไซด์แบนด์ของ L-R จากภาคบาลานซ์มอดูเลเตอร์ 3. สัญญาณไพล็อตโทน 19 kHz จากภาคออสซิลเลเตอร์

สัญญาณรวมหรือสัญญาณคอมโพสิต

ครูและนักเรียนช่วยกันสรุป

สวัสดี