วงจรผสมคลื่นความถี่วิทยุแบบ FM
1. กรรมวิธีการกำเนิดสัญญาณเอฟเอ็ม สาระการเรียนรู้ 1. กรรมวิธีการกำเนิดสัญญาณเอฟเอ็ม 2. ระบบเอฟเอ็มสเตอริโอมัลติเพล็กซ์
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง 1. บอกกรรมวิธีการกำเนิดสัญญาณเอฟเอ็มได้ 2. อธิบายการทำงานของระบบเอฟเอ็มสเตอริโอมัลติเพล็กซ์ได้
รูปแบบการมอดูเลตสัญญาณ 2.การมอดูเลตทางความถี่ ( Frequency Modulation : FM ) หรือเอฟเอ็ม
การวิเคราะห์สมการ FM สัญญาณข่าวสาร สัญญาณคลื่นพาห์
การวิเคราะห์สมการ FM สัญญาณเอาต์พุต คือ
ดัชนีการมอดูเลชั่น ( Modulation Index ) คือ ความถี่เบี่ยงเบน
ไซด์แบนด์เอฟเอ็ม
แบนด์วิดธ์คลื่นเอฟเอ็ม เมื่อ BW คือ ความกว้างของแถบความถี่หรือแบนด์วิดธ์ mf คือ ดัชนีการมอดูเลชั่น ( Modulation Index ) fm หรือ fa คือ ความถี่ของสัญญาณข่าวสาร fd คือ ความถี่เบี่ยงเบนของคลื่นพาห์
การส่งเอฟเอ็มสเตอริโอมัลติเพล็กซ์ ( FM Stereo Multiplex ) หรือรวมกันแล้วผสมกับคลื่นพาห์ก่อนส่งออก ไปยังเครื่องรับ หลังจากนั้น ที่เครื่องรับก็จะมี กระบวนการในการแยกเอาสัญญาณเสียงซีก ซ้าย (L) และ สัญญาณเสียงซีกขวา (R) ออกจากคลื่นพาห์อีกครั้ง
การส่งเอฟเอ็มสเตอริโอมัลติเพล็กซ์
การทำงานของระบบการส่งเอฟเอ็มสเตอริโอมัลติเพล็กซ์ การทำงานของระบบการส่งเอฟเอ็มสเตอริโอมัลติเพล็กซ์ เริ่มจากนำสัญญาณเสียงช่องซ้าย ( Left : L ) ไปรวม ( Adder ) กับสัญญาณเสียงช่องขวา ( Right : R ) ในวงจรวงจรเมตริกซ์จะได้ สัญญาณ L+R และสัญญาณเสียงช่องขวา (Right :R) ป้อนผ่านวงจรอินเวอร์เตอร์ ( Inverter ) เพื่อกลับเฟส 180 องศา กลายเป็นสัญญาณ(-R) เพื่อไปรวมกับสัญญาณ L จะได้ สัญญาณ L-R หลังจากนั้นสัญญาณ L-R ส่งต่อไปยังบาลานซ์ มอดูเลเตอร์ ( Balance Modulator )จะนำไปมอดูเลตกับคลื่นพาห์ย่อย ( Sub Carrier ) ความถี่ 38 กิโลเฮิรตซ์ ที่เข้ามาอีกทางหนึ่ง
สัญญาณไพล็อต ( Pilot Signal ) ประกอบด้วย 3 ส่วนคือ 1. สัญญาณไซด์แบนด์ของ L+R จากภาค L+R 2. สัญญาณไซด์แบนด์ของ L-R จากภาคบาลานซ์มอดูเลเตอร์ 3. สัญญาณไพล็อตโทน 19 kHz จากภาคออสซิลเลเตอร์
สัญญาณรวมหรือสัญญาณคอมโพสิต
ครูและนักเรียนช่วยกันสรุป
สวัสดี