วงจรขยายความถี่สูง และ วงจรขยายกำลังความถี่สูง

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โครงสร้างและคุณสมบัติพื้นฐาน ของสายอากาศแบบต่างๆ
Advertisements

อุปกรณ์โฟโต้ (Photo device)
คอยล์ ( coil ) สมพล พัทจารี วิศวกรรมไฟฟ้า.
พื้นฐานวงจรขยายแรงดัน
บทที่ 8 Power Amplifiers
วงจรสวิตช์ประจุ(Switched Capacitor)
วงจรลบแรงดัน (1).
รอยต่อ pn.
แนะนำอิเล็กทรอนิกส์กำลัง (Power Electronics)
4.6 RTL (Resistor-Transistor Logic) Inverter
Bipolar Junction Transistor
วงจรออปแอมป์ไม่เชิงเส้นและวงจรกำเนิดสัญญาณ
วงจรรวมหรือไอซี (Integrated Circuit, IC) และไอซีออปแอมบ์(OP-AMP )
X-Ray Systems.
ตัวเก็บประจุ ( capacitor )
Welcome to Electrical Engineering KKU.
สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ (Computer Architecture)
8. ไฟฟ้า.
ทรานซิสเตอร์แบบไบโพลาร์ (Bipolor Transistor)
ENCODER.
CHAPTER 18 FOURIER TRANSFORM
ลำโพง (Loud Speaker).
12.5 อิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้นและการประยุกต์
ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์
CHAPTER 11 Two-port Networks
CHAPTER 4 Circuit Theorems
1 CHAPTER 1 Introduction A. Aurasopon Electric Circuits ( )
CHAPTER 10 AC Power Analysis
ตัวเหนี่ยวนำ (Inductor)
บทที่ 3 การคำนวณทางคณิตศาสตร์ หน่วยประมวลผลทางคณิตศาสตร์และตรรกะ (ALU)
หม้อแปลง.
การวัดและทดสอบการทำงานของวงจรเครื่องส่งวิทยุ
สัปดาห์ที่ 14 ผลตอบสนองต่อความถี่ Frequency Response (Part II)
กำลังไฟฟ้าที่สภาวะคงตัวของวงจรไฟฟ้ากระแสสลับ
กำลังไฟฟ้าที่สภาวะคงตัวของวงจรไฟฟ้ากระแสสลับ
สัปดาห์ที่ 13 ผลตอบสนองต่อความถี่ Frequency Response (Part I)
สัปดาห์ที่ 15 โครงข่ายสองพอร์ท Two-Port Networks (Part I)
สัปดาห์ที่ 10 (Part II) การวิเคราะห์วงจรในโดเมน s
Sinusiodal Steady-State Analysis
การวิเคราะห์วงจรในโดเมน s Circuit Analysis in The s-Domain
การวิเคราะห์วงจรโดยใช้ฟูริเยร์
สัปดาห์ที่ 5 ระบบไฟฟ้าสามเฟส Three Phase System.
การวิเคราะห์วงจรโดยใช้ฟูริเยร์
บทที่ 2 อุปกรณ์ไฟฟ้าทั่วไป (General Electric Equipment)*
การควบคุมหุ่นยนต์โดยใช้ตัวตรวจจับ
ตัวเก็บประจุ (CAPACITOR)
การที่จะให้มันทำงานก็ต้องจ่ายไฟให้มันตามที่กำหนด
สารกึ่งตัวนำ คือ สารที่มีสภาพระหว่างตัวนำกับฉนวน โดยการเปลี่ยนแรงดันไฟเพื่อเปลี่ยนสถานะ สมชาติ แสนธิเลิศ.
เป็นไอซี ที่นิยมใช้กันมากในการนำ ไปสร้างสัญญาณรูปคลื่นแบบต่างๆ
คือ อุปกรณ์สารกึ่งตัวนำ ที่ทำหน้าที่ขยายสัญญาณ
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับวงจรไฟฟ้า
หน่วยที่ 5 เครื่องส่งวิทยุ.
หน่วยที่ 3 คุณลักษณะสมบัติของ RLC
บทที่ 2 อินติเกรเตอร์ และ ดิฟเฟอเรนติเอเตอร์.
ยูเจที (UJT) ยูนิจังชั่น ทรานซิสเตอร์ (UNIJUNCTION TRANSISTOR) หรือเรียกย่อ ๆ ว่า ยูเจที (UJT) UJT ไปใช้งานได้อย่างกว้างขวางหลายอย่างเช่น ออสซิลเลเตอร์
ไดแอก ( DIAC ) .
ความรู้พื้นฐานทางวิศวกรรมไฟฟ้า(252282) หน่วยและปริมาณทางไฟฟ้า
กสิณ ประกอบไวทยกิจ ห้องวิจัยการออกแบบวงจรด้วยระบบคอมพิวเตอร์(CANDLE)
ความรู้พื้นฐานทางวิศวกรรมไฟฟ้า(252282) กฎของโอห์ม การคำนวณและการวัด
เทอร์มิสเตอร์และวาริสเตอร์
รูปที่ 1 แสดงการต่อโหลดแบบผสม
รูปที่ 1 แสดงการต่อโหลดแบบขนาน
กฤษ เฉยไสย ธวัตชัย สิ้นภัย ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า มหาวิทยาลัยขอนแก่น
บทที่ 5 เครื่องกําเนิดไฟฟากระแสสลับ (AC Generator)
สื่ออิเล็กทรอนิกส์ 5 ชิ้น สำหรับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
1 การกำจัดรีโซแนนซ์การบิดด้วยตัว ชดเชยจากวิธีแผนผังค่าสัมประสิทธิ์ (CDM) รูปที่ 4.1 ระบบตามโครงสร้าง CDM.
วงจรไฟฟ้ากระแสสลับ วงจรไฟฟ้า LC ค่า RMS หมายความว่าอย่างไร
ส่วนประกอบของวงจรไฟฟ้า
ทฤษฎีของมิลล์แมน.
ตอนที่ ๒ เรื่องการวิเคราะห์โนด
ใบสำเนางานนำเสนอ:

วงจรขยายความถี่สูง และ วงจรขยายกำลังความถี่สูง หน่วยที่ 7 วงจรขยายความถี่สูง และ วงจรขยายกำลังความถี่สูง Radio Transmitter and Antenna

1. วงจรไบอัสทรานซิสเตอร์พื้นฐาน 2. การจัดคลาสวงจรขยาย สาระการเรียนรู้ 1. วงจรไบอัสทรานซิสเตอร์พื้นฐาน 2. การจัดคลาสวงจรขยาย 3. หลักการทำงานของวงจรจูนด์คลาสซี

ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง 1. บอกการจัดวงจรไบอัสทรานซิสเตอร์พื้นฐานได้ 2. บอกหลักการจัดวงจรขยายคลาสต่าง ๆ ได้ 3. บอกคุณสมบัติของวงจรขยายคลาสซีได้

หลักการ และ แนวคิด วงจรขยายสัญญาณโดยทั่วไปนั้น จัดว่าเป็นการขยายสัญญาณที่ความถี่ต่ำ หรือ ความถี่ในย่านเสียง ส่วนวงจรขยายความถี่สูง จัดได้ว่าเป็นวงจรขยายในย่านความถี่วิทยุ ซึ่งในเครื่องส่งวิทยุนั้นได้แก่ ภาคขยายบัฟเฟอร์ ภาคขยายกำลังปานกลางหรือภาคเอ็กไซเตอร์ โดยวงจรขยายกำลังความถี่สูง เป็นวงจรที่ทำหน้าที่ขยายสัญญาณ ที่มีขนาดของกระแส และ ขนาดของแรงดันสูง ๆ เพื่อป้อนให้กับโหลดของวงจรเครื่องส่งวิทยุ

วงจรไบอัสทรานซิสเตอร์ 1. วงจรไบอัสคงที่ ( Fixed Bias ) 2. วงจรอีมิตเตอร์สเตบิไลซ์ไบอัส ( Emitter Stabilized Bias ) 3. วงจรไบอัสแบบแบ่งแรงดัน ( Voltage Divider Bias ) 4. วงจรไบอัสแบบป้อนกลับ ( Collector Voltage Feedback Bias )

1. วงจรไบอัสคงที่ ( Fixed Bias )

2. วงจรอีมิตเตอร์สเตบิไลซ์ไบอัส ( Emitter Stabilized Bias )

3. วงจรไบอัสแบบแบ่งแรงดัน ( Voltage Divider Bias )

4. วงจรไบอัสแบบป้อนกลับ ( Collector Voltage Feedback Bias )

การจัดคลาสวงจรขยาย การจัดคลาส ( Class ) หรือระดับ ของวงจรขยายกำลัง จะพิจารณาจาก จุดทำงาน ( Q – Point ) บนเส้นดีซีโหลดไลน์ ( Load Line )

จุดทำงานของทรานซิสเตอร์ โหลดไลน์ ( Load Line )

วงจรขยายคลาสซีเท่านั้น จะขอกล่าว เฉพาะ วงจรขยายคลาสซีเท่านั้น

วงจรขยายคลาสซี วงจรขยายคลาสซี เป็นวงจรที่มีประสิทธิภาพสูง แต่ก็มีความผิดเพี้ยนสูงมาก เหมาะสำหรับการขยายสัญญาณในย่านความถี่วิทยุ ( Radio Frequency : RF ) เพราะสามารถที่จะใช้วงจรจูนด์ความถี่ ในการชดเชยความผิดเพี้ยนที่เกิดขึ้นได้ การจัดไบอัสคลาสซีนั้น จะตั้งจุดไบอัสให้เลยจุดคัตออฟ โดยให้จุดไบอัสเลยเส้นโหลดไลน์ออกไป ซึ่งจะทำให้ทรานซิสเตอร์ขยายสัญญาณได้เพียงบางส่วนเท่านั้น

หลักการทำงานเบื้องต้น ของวงจรขยายคลาสซี

( ก ) วงจรขยายคลาสซี ( ข ) แรงดันอินพุตและกระแสเอ๊าต์พุต การทำงานของคลาสซี ( ก ) วงจรขยายคลาสซี ( ข ) แรงดันอินพุตและกระแสเอ๊าต์พุต

การทำงานบนเส้นโหลด

(ก) สัญญาณพัลส์ที่เป็นกระแสคอลเลคเตอร์ (ข) สัญญาณกระแสเอาต์พุตและแรงดันเอาต์พุต

การทำงานร่วมกับวงจรจูนด์ ( Tuned Circuit Operation ) ความถี่เรโซแนนซ์ของวงจร LC ที่ขนานกัน หาได้จาก

วงจรขยายจูนด์คลาสซี

จังหวะที่ C ชาร์ทประจุ เมื่อทรานซิสเตอร์อยู่ในสภาวะนำกระแส หลักการทำงานของวงจรจูนด์คลาสซี คือ เมื่อทรานซิสเตอร์มีไบอัสเกิดกระแสไหลได้ในช่วงเวลาสั้น ย่อมจะทำให้เกิดแรงดันไฟฟ้าจากแหล่งจ่ายชาร์ทเข้าที่ตัวเก็บประจุ จังหวะที่ C ชาร์ทประจุ เมื่อทรานซิสเตอร์อยู่ในสภาวะนำกระแส

(ก ) เมื่อทรานซิสเตอร์ OFF เมื่อทรานซิสเตอร์หยุดนำกระแส หรืออยู่ในสภาวะออฟ ( OFF )ดังรูป ( ก ) แรงดันที่เก็บไว้ที่ C จะจ่ายให้กับ L และลดลงเข้าใกล้ศูนย์โวลต์ กระแสจะไหลย้อนกลับทิศทางไปรีชาร์ท ( Recharge ) อีกทางหนึ่งของขั้ว C ดังรูป ( ข ) (ก ) เมื่อทรานซิสเตอร์ OFF (ข ) เมื่อทรานซิสเตอร์ยัง OFF ในช่วงเวลาถัดไป

(ก ) เมื่อทรานซิสเตอร์ยัง OFF ในช่วงเวลาถัดไป เมื่อเวลาผ่านไปจะเกิดการเปลี่ยนค่าแรงดันมาทางลบ และเมื่อ C คาบประจุหมดแล้ว จะเกิดการคายประจุ ( Discharge ) กลับทางดังรูป ( ก ) พร้อมกับการยุบตัวของ L ดังนั้น แรงดันไฟศักย์ลบจึงกลับสู่ 0 โวลต์ และกลับไปเป็นบวก ดังรูป ( ข ) รอช่วงเวลาที่ทรานซิสเตอร์กลับมานำกระแสอีกครั้ง (ก ) เมื่อทรานซิสเตอร์ยัง OFF ในช่วงเวลาถัดไป (ข ) เมื่อทรานซิสเตอร์ยัง OFF และรอ ON ในช่วงเวลาถัดไป

ครูและนักเรียนช่วยกันสรุป

สวัสดี