บทที่ 4 การใช้ตัวดำเนินการ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
รายวิชา ง40102 หลักการแก้ปัญหาและการโปรแกรม
Advertisements

การเขียนโปรแกรมด้วยคำสั่งเบื้องต้น
บทที่ 2 ภาษาปาลคาลเบื้องต้น.
BC320 Introduction to Computer Programming
Introduction to C Programming
ครั้งที่ 8 Function.
สถาปัตยกรรมแบบ stack และ การผลิตโค๊ด
หลักการโปรแกรม 1 Lecture 3: ตัวแปร, นิพจน์คณิตศาสตร์, การคำนวณทางคณิตศาสตร์,การดำเนินการกับสายอักขระ.
ชนิดของข้อมูลและตัวดำเนินการ
บทที่ 2 Operator and Expression
Week 6 ประกาศค่าตัวแปร.
บทที่ 3 พื้นฐานการเขียนโปรแกรม Visual Basic
Visual Basic 6 By Samaporn Yendee VB6.
รับและแสดงผลข้อมูล.
หน่วยที่ 2 ภาษาโปรแกรม และการออกแบบโปรแกรม
Lab 3: คำสั่งพื้นฐานสำหรับการรับและการแสดงผลข้อมูล
การรับข้อมูลเบื้องต้นโดยใช้ฟังก์ชั่น scanf
รายวิชา ง23101 การเขียนโปรแกรมเบื้องต้น
การประกาศตัวแปร “ตัวแปร” คือสิ่งที่เราสร้างขึ้นมาเพื่อใช้เก็บค่าต่างๆและอ้างอิงใช้งานภายในโปรแกรม ตามที่เรากำหนดขึ้น การสร้างตัวแปรขึ้นมาเราเรียกว่า.
หน่วยที่ 5 ตัวดำเนินการ (Operators)
Arrays.
การเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ ด้วยภาษาจาวา
บทที่ 3 ตัวดำเนินการ และ นิพจน์
การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์และอัลกอริธึม
บทที่ 11 การเขียนโปรแกรมภาษาซี
คลาสและวัตถุ (2) (Class & Object)
บทที่ 1 หลักการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ
บทที่ 4 Method (2).
คลาสและวัตถุ (3) (Class & Object). w5_000.rar การใช้งานเมธอดภายในคลาสเดียวกัน ข้อ 24, 25 as5_000.rar การใช้งานเมธอดภายในคลาสเดียวกัน ข้อ 23 2.
บทที่ 4 Method (1).
อาร์เรย์และข้อความสตริง
ตัวแปร (variable) ตัวแปร เป็นชื่อที่เราตั้งขึ้น เพื่อให้คอมพิวเตอร์เตรียมที่ใน หน่วยความจำไว้สำหรับเก็บข้อมูลที่นำไปประมวลผล การตั้งชื่อตัวแปร ชื่อตัวแปรในภาษา.
อาร์เรย์ (Array).
ไวยากรณ์ของภาษาการทำโปรแกรม (1) (Syntax of programming languages)
บทที่ 6 เมธอด.
Chapter 3 เครื่องหมายและการคำนวณ
Process Analysis 2 การวิเคราะห์กระบวนการ
บทที่ 3 ชนิดของข้อมูลและตัวดำเนินการ
ตัวแปรกับชนิดของข้อมูล
แถวลำดับ (array) ง40202 การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
นิพจน์และตัวดำเนินการ
ตัวดำเนินการในภาษาซี
ชนิดของข้อมูล ตัวแปร และตัวดำเนินการ
อาจารย์นัณฑ์ศิตา ชูรัตน์
ตัวแปร ชนิดข้อมูล และค่าคงที่
ตัวแปรกับชนิดของข้อมูล
เครื่องหมายและการดำเนินการ ในภาษา C
โดย อ. นัฐพงศ์ ส่งเนียม การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ และอัลกอรทึ่ม ( ) Lec04 : [ การแปลงจาก FlowChart.
ตัวแปร ชนิดข้อมูล และ ตัวดำเนินการใน PHP
Week 2 Variables.
Computer Programming for Engineers
บทที่ 8 ตัวดำเนินการ และ นิพจน์
Operators ตัวดำเนินการ
ใบงาน 1. ให้นักเรียนคัดลอกเนื้อหาและตัวอย่างเรื่อง การวิเคราะห์ปัญหาและการจำลองความคิดตั้งแต่สไลด์ที่ 2-11 ลงในสมุด (ถ้าไม่มีให้ทำในกระดาษสมุด1คู่) 2.
แผนผังความคิดรวบยอด เรื่อง ภาษาคอมพิวเตอร์ และตัวอย่างผังงาน
คำสั่งรับค่าและฟังก์ชันทางคณิตศาสตร์
ตัวดำเนินการ และนิพจน์คณิตศาสตร์
บทที่ 3 ชนิดข้อมูล ตัวแปร นิพจน์และตัวดำเนินการ
หลักการและวิธีการแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
Output of C.
การทำงานและคำสั่งพื้นฐาน
stack #2 ผู้สอน อาจารย์ ยืนยง กันทะเนตร
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
หน่วยที่ 4 โครงสร้างโปรแกรมภาษาซี
ฟังก์ชันเกี่ยวกับ คณิตศาสตร์. เนื้อหา คำสั่งรับข้อมูลเข้าจากผู้ใช้ คำสั่งรับข้อมูลเข้าจากผู้ใช้ การเปลี่ยนชนิดข้อมูล การเปลี่ยนชนิดข้อมูล การเรียกใช้งานเมท็อดทาง.
การกระทำทางคณิตศาสตร์
ตัวแปร และชนิดข้อมูล.
Programming assignments ชื่องาน (subject) : program เขียนด้วยภาษา C หรือ C++ มีทั้งหมด 7 ข้อ กำหนดส่ง 29 กรกฎาคม 2554.
บทที่ 7 การสร้างและการใช้งาน ฟังก์ชัน อาจารย์ชนิดา คำเพ็ง สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ คณะวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี
CHAPTER 2 Operators.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทที่ 4 การใช้ตัวดำเนินการ แผนกเทคโนโลยีสารสนเทศ วิทยาลัยเทคนิคฉะเชิงเทรา

ตัวดำเนินการทางคณิตศาสตร์ (operator) Result=num1-num2; Result=num1-num3; Result=num1*num2; Result=num1*num3; Result=num1/num2; Result=num1/num3; Result=num1%num2; Result=num1%num3; กำหนดค่า num1 = 5 , num2=3 และ num3=-2

ลำดับความสำคัญของ Operators

เขียนโปรแกรมทดสอบการใช้งาน Operator เขียนโปรแกรมบวกเลขสองจำนวน

เขียนโปรแกรมทดสอบการใช้งาน Operator โปรแกรมแปลงหน่วยกิโลเมตร เป็นเมตร และเซนติเมตร ตามลำดับ

เขียนโปรแกรมทดสอบการใช้งาน Operator โปรแกรมแปลงหน่วยกิโลเมตร เป็นเมตร และเซนติเมตร ตามลำดับ

เขียนโปรแกรมทดสอบการใช้งาน Operator จงเขียนโปรแกรมแปลงหน่วยจากชั่วโมง เป็นนาที และวินาที

ตัวดำเนินการเปรียบเทียบ : Comparison Operator

เขียนโปรแกรมทดสอบการทำงานของตัวดำเนินการเปรียบเทียบ จงเขียนโปรแกรมเปรียบเทียบจำนวนสองจำนวน ว่ามีค่ามากกว่า น้อยกว่า หรือเท่ากัน หรือไม่

ตัวอย่าง „กำหนดค่า a = 5, b=7 และ c=9 ถ้า == ‹จะเป็นการเปรียบเทียบ แต่ถ้า = ‡คือกำหนดค่า

ตัวดำเนินการตรรกศาสตร์ : Logical Operator:

ตัวอย่าง

ตัวดำเนินการเชิงบิต : Bitwise Logical Operator

การแปลงชนิดของข้อมูล เนื่องจากข้อมูลแต่ละชนิดของออบเจ็กต์ และภาษา C# นั้นเข้มงวดเรื่อง ชนิดข้อมูลมาก จึงทำให้เราไม่สามารถนำข้อมูลต่างชนิดมาใช้งาน ร่วมกันได้โดยตรง แต่จะต้องนำมาแปลงให้เป็นข้อมูลเดียวกันก่อน โดย วิธีการแปลงข้อมูลนั้นทำได้ 4 วิธี ดังนี้ 1. Implicit conversion 2. Explicit conversion 3. การใช้เมธอด parse 4. ใช้งานออบเจ็กต์ Convert

Implicit conversion วิธีนี้เป็นการแปลงข้อมูลโดยไม่ชัดเจน เป็นการแปลงข้อมูลที่จะแปลง ข้อมูลประเภทเดียวกัน แต่ใช้พื้นที่การเก็บไม่เท่ากัน ซึ่งจะแปลงได้ ถูกต้องก็ต่อเมื่อแปลงจากชนิดที่ใช้พื้นที่ขนาดเล็กไปสู่ชนิดที่พื้นที่ใหญ่ กว่า ตัวอย่าง short var1 = 42; short var2 = 17; long total = var1+var2; MessageBox.Show(total.toString());

Explicit conversion เป็นการแปลงข้อมูลให้เกิดความชัดเจน หรือเรียกว่า cast โดยการระบุ ชนิดข้อมูลไว้หน้าชื่อตัวแปรที่จะแปลง ซึ่งจะครอบด้วยวงเล็บเพื่อแยก ชนิดข้อมูลชื่อกับตัวแปร ตัวอย่าง float num1=12.4f; int num2=(int)(num1);

การใช้เมธอด parse เมธอด parse จะใช้แปลงข้อมูลชนิด string ไปเป็นค่าตัวเลขที่ตรงกับ ข้อความนั้นๆ ซึ่งจะทำงานตรงข้ามกับเมธอด toString นั่นเอง ตัวอย่าง string str; string age=“17”; int i = int.Parse(age); MessageBox.Show(“อายุ =”+ i.toString());

ใช้งานออบเจ็กต์ Convert ตัวอย่าง Double val1 = 24.56; Long Lvar1=convert.ToInt(val1); MessageBox.Show(“การแปลง double เป็น integer”+ Lvar1);

ทดลองเขียนโปรแกรม จงเขียนโปรแกรมคำนวณหาพื้นที่สามเหลี่ยม โดยมีหน้าจอดังนี้