ทำไม?พลังงานทดแทนจึงเป็นธุรกิจที่มาแรงที่สุดในขณะนี้?

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
หมวดหมู่ข้อมูล ข้อมูลด้านพลังงาน ข้อมูลด้านสังคมและสิ่งแวดล้อม
Advertisements

นกในประเทศไทย จัดทำโดย ด.ช.ธีรวุฒิ เนียมคุ้ม ชั้น ม. 2/1 เลขที่ 9.
สำนักงานเขตป้อมปราบศัตรูพ่าย กรุงเทพมหานคร
จบการทำงาน <<< <<< สมุนไพรไทย Click Please
ไม้ดอกไม้ประดับงามตา ตำแหน่ง ครูผู้ช่วย โรงเรียนบ้านท่าเกวียน
แต่งบ้านให้สวย ด้วยสวนงาม
การย้ายต้นกล้าแบบล้างราก
ลดโลกร้อน ด้วยมือเรา.
อาหารหยาบ หญ้าแห้ง.
วัตถุดิบแหล่งพลังงาน
น.ส กานต์ดา ทำไร่ เลขที่43 ม.6/4 น.ส จิติมา คุ้มแก้ว เลขที่46 ม.6/4
ความสำคัญของพืชและอนาจักรพืช
หมู่ 6 ตำบลแก่งโสภา อำเภอวังทอง จังหวัดพิษณุโลก
วิธีการเก็บตัวอย่างดิน
พ.จ.อ.ภาคภูมิ โชติสุวรรณกุล
ก า ร เ ลี้ ย ง ป ล า ใ น น า ข้า ว
คุณค่าทางอาหารสัตว์ของหญ้าแฝก
จัดทำโดย ด.ช.สมชาย คงดั่น 2/5.
เรื่อง ความหลากหลายของพืชและสัตว์
เทคโนโลยีชีวภาพ แก๊สชีวภาพ นำเสนอโดย 1. นายทรงศักดิ์ ศรีสันติสุข 2
ปัจจุบันทั่วโลกกำลังประสบปัญหากับวิกฤตการณ์ด้านการขาดแคลนพลังงานและปัญาโลกร้อนจากภาวะเรือนกระจกที่ทุกประเทศต้องร่วมกันแก้ไข ที่ผ่านมาการนำพืชอาหารมาใช้เป็นพลังงานทดแทน.
กาแฟ (coffee) ชื่อทางวิทยาศาสตร์ Coffea spp.
การใช้ยอดอ้อยเลี้ยงโค- กระบือ ทดแทนอาหารหยาบในฤดูแล้ง
ชาเขียว สารสกัดจากใบชา
หมากเขียว ชื่อวิทยาศาสตร์ : Ptychosperma acarthurii H. Wendl.
ไทร ชื่อสามัญ Banyan Tree ชื่อวิทยาศาสตร์ Ficus annlata วงศ์ MORACEAE
ขี้เหล็ก ชื่อวิทยาศาสตร์ :Cassia siamea Lam. ชื่อวงศ์ (Leguminosae)
ปาล์มขวด ชื่อวิทยาศาสตร์ : Roystonea regia (H.B.K.) Cook
หูกวาง ชื่อวิทยาศาสตร์ : Terminalia catappa Linn. วงศ์ : COMBRETACEAE
ศักยภาพ ผัก ผลไม้ เศรษฐกิจภาคใต้ ปัญหาและอุปสรรคของการผลิต การจำหน่ายทั้งในและส่งออกต่างประเทศ ในมุมมองของภาครัฐ.
ข้อมูลผลผลิตของสบู่ดำ
ปัญหา ….. ผลผลิต / รายได้ต่ำเพราะใช้พื้นที่ ผลิตพืชไม่เหมาะสม พื้นที่มีกำไร (40%) พื้นที่เท่า ทุน (40%) พื้นที่กินทุน ( ที่ลุ่ม ) พื้นที่กินทุน ( ที่ดอน.
โดย นายสุพันธ์ อินทะแสง นักวิชาการส่งเสริมการเกษตรชำนาญการ
การปลูกพืชกลับหัว.
น.ส.ผาณิตดา แสนไชย รหัสนักศึกษา
รายงานกรฝึกงาน สัตวศาสตร์ 3
การป้องกันไฟไหม้สวนยางในฤดูแล้ง
ปลูกมะนาว ในท่อซีเมนต์ เทคนิคบังคับออกผลช่วงราคาแพง
พี่น้องปุ๋ยหมักโบกาชิ
การปลูกอ้อยสูตร 100 ตันต่อไร่
หมากเขียว MacAthur Palm
ทับทิม Pomegranate ผู้จัดทำ นางสาวอรอนงค์ บงกชศรีจินดา
ดอกเข็ม Ixora chinensis lamk. ผู้จัดทำ นางสาว ทัศนีย์ เครือดวงคำ
การเลี้ยงปลาหางนกยูง
Next.
โรงเรียน ศึกษาสงเคราะห์จิตต์อารี
คอร์เดีย (Cordia) ผู้จัดทำ นางสาวเมทินี หล้าวงศ์
ป่าสนบ้านวัดจันทร์ เชียงใหม่ - ป่าของรัฐ 3 % - ป่าเอกชน 97 % OGUNI (KUMAMOTO, KYUSHU, JAPAN รัฐ งบประมาณ 40 % สนับสนุน ประชากร 10,000 คน พื้นที่ป่า 75.
ฟีโลทอง philodendron sp.
ลักกะจันทน์ Dracaena loureiri Gagnep.
สถานการณ์พลังงานของประเทศไทย
การจัดการสวนปาล์มน้ำมัน
ปาล์มขวด จัดทำโดย นาย ภานุวัฒน์ แซ่เจียง เลขที่ 8
กล้วยไม้ ผู้จัดทำ 1. ด.ญ จิรสุดา ปักสำโรง ชั้น ป.4 เลขที่16
การเลี้ยงปลาดุกในบ่อพลาสติก (เกษตรพอเพียง)
การจัดการสวนปาล์มน้ำมัน
โดย ด.ช. ชญานนท์ เป็งธรรม ม.1/4เลขที่ 5
ดินเปรี้ยว ดินเปรี้ยว หรือดินกรด (Acid soil) หมายถึง ดินที่มีค่า pH วัดได้ต่ำกว่า 7.0 ดังนั้น ดินเปรี้ยวจัด (Acid sulfate soil) จึงเป็นดินเปรี้ยวหรือดินกรดชนิดหนึ่ง.
รายงานเรื่อง. น้ำสมุนไพร จัดทำโดย ด. ญ
นางสาว อภิญญา ปินตาแก้ว ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/1
เรื่อง บอนสี จัดทำโดย ด. ญ. อาทิตย์ยา ผูกพัน เลขที่ 21 ชั้น ม
สำนักงานเกษตรอำเภอละอุ่น
RDF/ MSW Industry for Thailand
บทที่ 8 การใช้ประโยชน์จากผลพลอยได้และเศษเหลือทิ้ง
มหาวิทยาลัยบูรพาวิทยาเขตสระแก้ว
ยอดกาหยู ชื่อถิ่น กาหยู ชื่อสามัญ Cashew
โครงการพัฒนาเป็นศูนย์กลางการผลิตเมล็ดพันธุ์พืชรองรับ
โครงการพระราชดำริ หญ้าแฝก จัดทำโดย ด.ช.พงศ์ธนัช เสนอ อ.มุทิตา หวังคิด.
องค์ความรู้ การพัฒนาผลิตภัณฑ์การทอเสื่อกก กลุ่มวิสาหกิจชุมชนกลุ่มทอเสื่อกกบ้านนาหมอม้า ผู้ให้องค์ความรู้ นางนิ่ม นวลขาว ที่อยู่ 961 หมู่ 7.
การปลูกและดูแลปาล์มน้ำมันในภาคอีสาน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ทำไม?พลังงานทดแทนจึงเป็นธุรกิจที่มาแรงที่สุดในขณะนี้? จากสถานการณ์น้ำมันของโลก ได้ขยับราคาขึ้นอย่าง ต่อเนื่อง เหตุผลคงหนีไม่ผล 2 ประการเท่านั้น 1 น้ำมันที่เกิดขึ้นโดยธรรมชาติได้ถูกนำมาใช้มากขึ้นทุกวัน แน่นอนที่สุดจำนวนย่อมลดลงเป็นธรรมดาจากความจำเป็นใช้ทุก วัน การขุดเจาะนำมาใช้อย่างไร้ขีดจำกัด และโอกาสที่จะเกิด น้ำมันใหม่ๆขึ้นมาอีกคงเป็นเรื่องที่ยากหรืออาจจะไม่เกิดขึ้นอีก เลย 2 จากเทคโนโลยีที่ทันสมัยในการผลิต ยิ่งเพิ่มขีดความต้องการใช้ พลังงานมากขึ้นไปอีก เครื่องจักรกลของมนุษย์ ได้พัฒนาการ ผลิตที่เร็วมาก เพื่อตอบสนองความสะดวกสบายของคน จน กล่าวได้ว่า 1 นาทีสามารถผลิตรถยนต์ได้ 1 คันเลยทีเดียว

“โลกใบนี้ยังมีพืชน้ำมันอยู่อีกมากมาย หลายชนิดที่ยังคงรอการเสาะแสวงหา และ ค้นพบจากมนุษย์... นอกจากพืชน้ำมันที่เรา รู้จักกันโดยทั่วไป อาทิ ปาล์มน้ำมัน สบู่ดำ Reeo Seed ถั่วเหลือง งาและอื่นๆ ที่นำมา ทำเป็นพลังงานทดแทนได้โดยเฉพาะ ไบโอ ดีเซล (Bio Diesel)

มะเยาหิน (Candlenut) พืชพลังงานตัวใหม่ “มะเยาหิน” (Candlenut) Aleurites Montana เป็นไม้ป่ายืนต้นขนาดกลาง สูงประมาณ 10-20 เมตร พบมากทางตอนเหนือของประเทศลาวและย่านเดียนเบียนฟูของเวียดนาม ชื่อเรียกตามภาษาท้องถิ่นว่า หมากเก๋า หมากเยาหินและหมากน้ำมัน ในประเทศไทยพบทางภาคเหนือตอนบนและภาคอีสานในบางจังหวัด แต่พบในปริมาณน้อย มะเยาหินเป็นพืชพลังงานที่มีคุณสมบัติพิเศษหลายอย่าง โดยเฉพาะการให้น้ำมันในปริมาณที่สูง นอกจากนี้ยังเป็นพืชที่เจริญเติบโตเร็ว ให้ร่มเงาได้ดี ลักษณะสวยงามคือ

ต้น เป็นไม้ยืนต้นรูปทรงสวยคล้ายต้นหูกวาง มีกิ่งแตกจากลำต้นเป็นชั้นๆ แต่ละชั้นมี 5 กิ่งมีหลายชั้นตามอายุของต้น ใบ มีขนาดใหญ่ก้านใบยาวเป็นแฉก 4 แฉกสวยงามเมิ่ออายุต้นมากขึ้นใบจะเล็กลงสีจะเขียวเข้ม แฉกใบจะเล็กลงและหายไป ดอก ออกช่อที่ปลายกิ่ง สีขาวอมชมพู สวยงาม

ผล ขนาดเท่าลูกมะนาว มีลายเส้นนูนที่เปลือกผล ออกพู 3-4 พู 1 พูมี 1 เมล็ดสีเขียว เมื่อแก่จัดผิวจะออกนวล และเปลือกผลจะดำ และแห้งในที่สุด เมล็ด มีขนาดใหญ่เกือบเท่าหัวแม่มือลักษณะกลมแบนมีเปลือกหุ้มเมล็ดที่แข็ง-บาง คล้ายกะลาทำให้รักษาเนื้อในเมล็ดได้ดีโดยที่เปอร์เซนต์ของน้ำมันไม่หายไปนานรวม 2 ปี

วิธีการปลูก สามารถปลูกได้ในทุกพื้นที่ดอนและมีน้ำหากได้รับการดูแลเอาใจใส่อย่างดีหลังการปลูกจะให้ผลผลิตได้ภายใน 2 ปี โดย ปลูกแบบธรรมชาติ ตามบริเวณบ้าน หน้าบ้านข้างบ้านหลังบ้านหรือตามที่ว่างทั่วไป ปลูกแบบกึ่งธรรมชาติ ตามที่ส่วนบุคคลที่สาธาณะ ปลูกแบบพืชสวน เช่นพืชสวนอื่นๆ เช่น มะม่วง ลำใย ลิ้นจี่ ฯลฯมีการจัดการอย่างดี มีการจัดระยะ-ตัดแต่งกิ่งฯลฯ ปลูกแบบปลูกป่า เช่นเดียวกับการปลูกป่าทั่วไป และจะได้ป่าเศรษฐกิจ ป่าช่วยแก้สภาวะโลกร้อนป่าที่ให้ผลผลิตเป็นน้ำมัน

ข้อมูลทางด้านผลผลิต พืชน้ำมัน  (มะเยาหิน พืชมหัศจรรย์บ่อน้ำมันบนดินของไทยตัวใหม่) มะเยาหิน  หรือภาษาจีนเรียกว่า   มะเย้า   ลาวเรียกว่า  มะเก๋า  ภาษาอังกฤษเรียกว่า Tung Oil Tree มีชื่อทางวิทยาศาสตร์ว่า Botaniei สายพันธุ์ Montana นำเข้าจากซัมเหนือของลาว โดยทีมงานอาจารย์มหาวิทยาลัยแม่โจ้ และ ม.สารคาม มหาวิทยาลัยกลางแดด อ. สัมฤทธิ์ อัครปะชะ อ.แม่แตง จ.เชียงใหม่ กำลังทำวิจัยพืชนิดนี้อยู่         

เปรียบเทียบปริมาณน้ำ มันใน 1 เมล็ด เปรียบเทียบปริมาณน้ำ มันใน 1 เมล็ด สบู่ดำ       มีปริมาณน้ำมัน   25 % ปาล์ม       มีปริมาณน้ำมัน   30 % มะเยาหิน  มีปริมาณน้ำมัน   65 %  2 กก. ให้น้ำมัน  1  ลิตร

การปลูก ชอบดินร่วนซุย ไม่ชอบน้ำซึมน้ำซับ แต่ให้น้ำสม่ำเสมอจึงได้ผลดี    ชอบดินร่วนซุย   ไม่ชอบน้ำซึมน้ำซับ   แต่ให้น้ำสม่ำเสมอจึงได้ผลดี 1   ไร่   ปลูกได้  40  ต้น   ระยะห่าง   7 x 8   เมตร 1 ต้นเมื่อปลูกได้  3  ปี จะให้ผลผลิตต้นละ   50   กก. 1   ไร่  40  ต้น  ก็จะได้ผลผลิต  40 x 50  = 2,000   กก. ถ้า   5   ปีจะให้ผลผลิตต้นละ   100  กก. ถ้า 1 ไร่ มี 40 ต้น จะได้ 40 x 100  =  4,000   กก. ถ้า   7   ปีจะให้ผลผลิตต้นละ   300  กก. ถ้า  1 ไร่ มี 40 ต้น จะได้  40 x 300  =  12,000  กก. ถ้า  10  ปีจะได้ผลผลิตต้นละ   500  กก. ถ้า  1 ไร่ มี 40 ต้น จะได้  40 x 500  =  20,000  กก.

ตังอี้ว ตังออยก็คือตัวเดียวกัน ตังอี้ว  ตังออยก็คือตัวเดียวกัน “ถ้านำไปหีบเป็นน้ำมันจะได้  10,000  ลิตร ที่เชียงใหม่ขายลิตรละ  80  บาท (น้ำมันตังอี้ว)” “ปัจจุบันเรานำเข้าจากเมืองจีน  80 x 10,000= 800,000 บ.”

บายโปรดัก ผลิตภัณฑ์จากมะเยาหิน บายโปรดัก  ผลิตภัณฑ์จากมะเยาหิน 1. ใช้ทำหมึกคอมพิวเตอร์ 2. ใช้ทำหมึกปากกาลูกลื่นทั่วไป (โมนามิ) 3. ใช้ทำหมึกพิมพ์ธนบัตร 4. ใช้ทำสีน้ำมันทาไม้ทั่วไป 5. ใช้ทำน้ำมันเงา (ยูรีเทน) 6. ใช้ทำน้ำมันหล่อลื่น (ทนแรงกดได้ถึง 20 ตัน) 7. ทำน้ำมันตังอิ้วบริสุทธิ์ (ลิตรละ 80 บาท) 8. ใช้ทำน้ำมันไบโอดีเซล 9. เปลือกใช้ทำถ่านอัดแท่ง (เหมือนถ่านหิน) 10. กิ่งก้าน และใบใช้ทำเชื้อเพลิงเขียว 11. กากที่หีบน้ำมันแล้วใช้ทำปุ๋ยหมักตรึงธาตุ N ได้เยี่ยม

“มะเยาหิน เป็นพืชพลังงานที่มีศักยภาพสูง สามารถปลูกได้ในที่ที่มีน้ำในทุกพื้นที่ หากได้รับการดูแลเอาใจใส่อย่างดีหลังการปลูก สามารถให้ผลผลิตได้ภายใน 2 ปี และให้ผลผลิตปีละครั้งเป็นอย่างต่ำ ตลอดอายุต้น 60-70 ปี”